แนวเวชปฏิบัติสำหรับการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคขาดสารอาหารเฉียบพลันรุนแรงในโรงพยาบาล พ.ศ. 2562

ผู้แต่ง

  • ลัดดา เหมาะสุวรรณ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • มณีรัตน์ ภูวนันท์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • จีรพรรณ โพธิ์สุวัฒนากุล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • สังคม จงพิพัฒน์วณิชย์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • นลินี จงวิริยะพันธุ์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • สุนทรี รัตนชูเอก กลุ่มงานกุมารเวชกรรม สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
  • เรืองวิทย์ ตันติแพทยางกูร กองกุมารเวชกรรม วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
  • สุภาพรรณ ตันตราชีวธร ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
  • สงวนศักดิ์ ฤกษ์ศุภผล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ
  • นฤมล เด่นทรัพย์สุนทร ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ศิรินุช ชมโท ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อรวรรณ เอี่ยมโอภาส กลุ่มงานกุมารเวชกรรม สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
  • พัชราภา ทวีกุล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • นพร อึ้งอาภรณ์ สาขาวิชากุมารเวชศาสตร์ สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • ปาจรีย์ ลิ่มทองแท่ง โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช สุขุมวิท
  • สุรณัฐ แก้วณิมีย์ กลุ่มงานกุมารเวชกรรม สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
  • ชนนิกานต์ วิสูตรานุกูล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สุชาอร แสงนิพันธ์กูล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • อรภา สุธีโรจน์ตระกูล ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • เพียรวิทย์ ตันติแพทยางกูร ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • สมาคมโภชนาการเด็กแห่งประเทศไทย

คำสำคัญ:

โรคขาดสารอาหารเฉียบพลันรุนแรง, ผู้ป่วยในโรงพยาบาล, ผู้ป่วยเด็ก, แนวเวชปฏิบัติ, โภชนบำบัด

บทคัดย่อ

โรคขาดสารอาหารในเด็กยังคงเป็นปัญหาสำคัญทั่วโลกรวมถึงในประเทศไทย ส่งผลในระยะยาวต่อการเจริญเติบโต พัฒนาการทั้งทางร่างกายและสติปัญญา การขาดสารอาหารเฉียบพลันรุนแรงเพิ่มอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน ระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาล และอัตราการเสียชีวิต ดังนั้น การตระหนักและเข้าใจถึงพยาธิสภาพของโรค และการรักษาผู้ป่วยอย่างรวดเร็วจะช่วยป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้

         แนวเวชปฏิบัตินี้จัดทำโดยกุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์โภชนาการ โดยการสนับสนุนของสมาคมโภชนาการเด็กแห่งประเทศไทยและรับรองโดยราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลรักษาผู้ป่วยเด็กโรคขาดสารอาหารเฉียบพลันรุนแรงที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิขึ้นไป คำแนะนำประกอบด้วยเกณฑ์การรับไว้รักษาในโรงพยาบาล การวินิจฉัย การรักษาการป้องกันและการรักษา Refeeding syndrome เกณฑ์การจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลและคำแนะนำในการป้องกันโรค อย่างไรก็ตาม การนำไปใช้ควรพิจารณาถึงความเหมาะสมและบริบทของสถานพยาบาลแต่ละแห่ง รวมถึงลักษณะของผู้ป่วยซึ่งอาจมีความแตกต่างกัน

References

World Health Organization. Management of severe malnutrition: a manual for physicians and other senior health workers. Geneva: World Health Organization;1999.

World Health Organization. Guideline: Updates on the management of severe acute malnutrition in infants and children. Geneva: World Health Organization;2013.

สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2557. นนทบุรี:บริษัท เดอะ กราฟิโก ซิสเต็มส์ จำกัด;2560.

National Statistical Office, UNICEF, Ministry of Public Health, National Health Security Office, Thai Health Promotion Foundation, International Health Policy Program. Thailand Multiple Indicator Cluster Survey 2012;2014.

ลัดดา เหมาะสุวรรณ. ภาวะขาดพลังงานและโปรตีน. ใน: ประยงค์ เวชวนิชสนอง, วนพร อนันตเสรี, บรรณาธิการ. กุมารเวชศาสตร์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ: สหมิตรพัฒนาการพิมพ์;2559. หน้า 275–88.

Oshikoya KA, Senbanjo IO. Pathophysiological changes that affect drug disposition in protein-energy malnourished children. Nutr Metab 2009;6:50.

Manary MJ, Hart CA, Whyte MP. Severe hypophosphatemia in children with kwashiorkor is associated with increased mortality. J Pediatr 1998;133:789-91.

Waterlow JC, Golden MH. Serum inorganic phosphate in protein-energy malnutrition. Eur J Clin Nutr 1994;48:503-6.

Rytter MJH, Kolte L, Briend A, Friis H, Christensen VB. The immune system in children with malnutrition-A systematic review. PLoS ONE 2014;9:e105017.

Grantham-McGregor S, Cheung YB, Cueto S, Glewwe P, Richter L, Strupp B, et al. Developmental potential in the first 5 years for children in developing countries. Lancet 2007;369:60-70.

Williams P, Berkley J. Severe acute malnutrition update: current WHO guidelines and the WHO essential medicine list for children. [Internet]. 2016. [cited 2017 Feb 4]. Available from: http://www.who.int/selection_medicines/committees/expert/21/applications/s6_paed

_antibiotics_appendix7_sam.pdf.

Sperling M. Hypoglycemia. In: Kliegman R, Stanton B, St Geme III J, Schor N, editors. Nelson Textbook of Pediatrics. 20th ed. Philadelphia: Elsevier Saunders; 2016:773–88.

Thornton P, Stanley C, Leon D, Harris D, Haymond M, Hussain K, et al. Recommendations from the Pediatric Endocrine Society for Evaluation and Management of Persistent Hypoglycemia in Neonates, Infants, and Children. J Pediatr 2015;167:238–45.

Tickell K, Denno D. Inpatient management of children with severe acute malnutrition: a review of WHO guidelines. Bull World Health Organ 2016;94:642-51.

National Institute of Health and Care Excellence. Diarrhoea and vomiting caused by gastroenteritis in under 5s: diagnosis and management. [internet] 2009. [cited 2017 Dec 30]. Available from: https://www.nice.org.uk/guidance/cg84/chapter/1-guidance#fluid-management.

Asmar A, Mohandas R, Wingo C. A physiologic-based approach to the treatment of a patient with hypokalemia. Am J Kidney Dis 2012;60:492-7.

Daly K, Farrington E. Hypokalemia and hyperkalemia in infants and children: pathophysiology and treatment. J Pediatr Health Care 2013;27:486-96.

Zieg J, Gonsorcikova L, Landau D. Current views on the diagnosis and management of hypokalaemia in children. Acta Paediatr 2016;105:762-72.

Fuentebella J, Kerner JA. Refeeding syndrome. Pediatr Clin N Am 2009;56:1201-10.

Boateng A, Sriram K, Meguid M, Crook M. Refeeding syndrome: Treatment considerations based on collective analysis of literature case reports. Nutrition 2010;26:156-67.

Brown K, Dickerson R, Morgan L, Alexander K, Minard G, RO. B. A new graduated dosing regimen for phosphorus replacement in patients receiving nutrition support. JPEN J Parenter Enteral Nutr 2006;30:209-14.

Imel E, Carpenter TO. A practical clinical approach to paediatric phosphate disorders. In: Allgrove J, Shaw NJ, editors. Calcium and bone disorders in children and adolescents. Endocr Dev. 2nd ed. Basel: Karger; 2015:134-61.

Zazzo J-F, Troché G, Ruel P, Maintenant J. High incidence of hypophosphatemia in surgical intensive care patients: Efficacy of phosphorus therapy on myocardial function. Intensive Care Med 1995;21:826-31.

Mehanna H, Moledina J, Travis J. Refeeding syndrome: what it is, and how to prevent and treat it. BMJ 2008;336:1495-8.

Weisinger J, Bellorín-Font E. Magnesium and phosphorus. Lancet 1998;352:391-6.

Alcoba G, Kerac M, Breysse S, Salpeteur C, Galetto-Lacour A, Briend A, et al. Do children with uncomplicated severe acute malnutrition need antibiotics? A systematic review and meta-analysis. PloS One 2013;8:e53184.

Lazzerin iM, Tickell D. Antibiotics in severely malnourished children: systematic review of efficacy, safety and pharmacokinetics. Bull World Health Organ 2011;89:593-606.

Million M, Lagier J-C, Raoult D. Meta-analysis on efficacy of amoxicillin in uncomplicated severe acute malnutrition. Microb Pathog 2017;106 (supplement C):76-7.

Trehan I, Goldbach H, LaGrone L, Meuli G, Wang R, Maleta K, et al. Antibiotics as part of the management of severe acute malnutrition. Malawi Med J 2016;28:123–30.

Ross D. Recommendations for vitamin A supplementation. J Nutr 2002;132:2902S- 29026S.

Brown KH, Rivera JA, Bhutta Z, Gibson RS, King JC, et al. International Zinc Nutrition Consultative Group (IZiNCG) technical document #1. Assessment of the risk of zinc deficiency in populations and options for its control. Food Nutr Bull. 2004;25(1 Suppl 2):S99-203.

Field CR, Schoeller DA, Brown KH. Body composition of children recovering from severe protein energy malnutrition at two rates of catch-up growth. Am J Clin Nutr 1989;50:1226-75.

Crook MA. Refeeding syndrome: Problems with definition and management. Nutrition 2014;30:1448-55.

Kraft M, Btaiche I, Sacks G. Review of the refeeding syndrome. Nutr Clin Pract 2005;20:625-33.

National Institute for Health and Clinical Excellence. Nutrition support in adults : oral nutrition support, enteral tube feeding and parenteral nutrition. Clinical guideline CG32. [internet] 2006. [cited 2017 Feb 15]. Available from: www.nice.org.uk/page.aspx?o=cg032.

อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ, สุภาพรรณ ตันตราชีวธร, สมโชค คุณสนอง. คู่มืออาหารตามวัยสำหรับทารกและเด็กเล็ก. กรุงเทพฯ: บริษัท บียอนด์เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำกัด;2552.

ประไพศรี ศิริจักรวาล, อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ. ข้อแนะนำการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี: การทบทวนและวิเคราะห์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์;2555.

Bandsma R, Mendel M, Spoelstra M, Reijngoud D, Boer T, Stellaard F, et al. Mechanisms behind decreased endogenous glucose production in malnourished children. Pediatr Res 2010;68:423-8.

Fjeld C, Schoeller D, Brown KH. Body composition of children recovering from severe protein-energy malnutrition at two rates of catch-up growth. Am J Clin Nutr 1989;50:1266-75.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-19