ผลของสูตรอาหารทางสายยางที่มีฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ในผู้ป่วยที่พักรักษาในโรงพยาบาลกับการเกิดภาวะถ่ายเหลว
บทคัดย่อ
ความสำคัญและที่มา: การให้ใยอาหารในผู้ป่วยที่รับอาหารทางสายยางอาจมีผลทำให้เกิดอาการถ่ายเหลวได้ในผู้ป่วยที่นอนโรงพยาบาล การเลือกใช้อาหารที่ไม่มีใยอาหารเมื่อผู้ป่วยเจ็บป่วยเฉียบพลันอาจช่วยลดการถ่ายเหลวขณะนอนโรงพยาบาลได้
จุดประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการให้ใยอาหารชนิดละลายน้ำฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ (fructooligo-saccharides,FOS) ในผู้ป่วยที่รับอาหารทางสายยางต่อการเกิดภาวะถ่ายเหลวในผู้ป่วยที่นอนโรงพยาบาลและระยะเวลาที่เริ่มถ่ายเหลวหลังได้รับใยอาหาร
ผลการศึกษา: ผู้ป่วยเข้าร่วมการศึกษาทั้งหมด 46 คนโดยเหลือผู้ป่วย 37 คน สำหรับการวิเคราะห์ (ผู้ป่วยยกเลิกการเข้าร่วมวิจัย 2 คน ข้อมูลผู้ป่วยหายไป 2 คน และเข้าเกณฑ์ถอนออกจากงานวิจัย 5 คน) จากการวิเคราะห์ไม่พบความแตกต่างทางด้านข้อมูลพื้นฐาน กลุ่มที่ได้รับใยอาหารจะได้รับปริมาณ FOS เฉลี่ย 23.54±3.18 กรัม/กก./วัน และพบว่าการได้รับใยอาหารสัมพันธ์กับการเกิดภาวะถ่ายเหลว โดยมีคะแนน Bristol Stool Score ≥ 5 และถ่ายอุจจาระ ≥ 3 ครั้ง/วัน มากกว่ากลุ่มที่ได้อาหารผสม dextrin 2.92 เท่า (P = 0.046, CI 1.02-8.370) โดยอาการถ่ายเหลวจะเริ่มเกิดในวันที่ 3 ของการได้รับใยอาหาร FOS ในกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับ FOS ช่วงแรกแล้วถ่ายเหลวมีจำนวนทั้งหมด 8 ราย โดยมี 6 ราย ที่ยังมีอาการถ่ายเหลวต่อเนื่องในช่วงสูตรพัก และ 2 ใน 6 รายนี้ยังมีอาการถ่ายเหลวต่อในช่วงที่ได้ผงหลอก
สรุป: การได้รับอาหารสายยางที่มี FOS มีผลต่อการเกิดภาวะถ่ายเหลวเพิ่มขึ้นได้ในผู้ป่วยที่ไม่ใช่ผู้ป่วยวิกฤตที่รับอาหารทางสายยางที่นอนโรงพยาบาล
References
Malone AM. June. Enteral Formula Selection A Review of Selected Product Categories. Nutrition issue in gastroenterology, series 28. Practical gastroenterology. 2005.
Roberfroid MB, Delzenne NM. Dietary fructans. Annu Rev Nutr 1998;18:117-43.
Rumessen JJ, Bodé S, Hamberg O, Gudmand-Høyer E. Fructans of Jerusalem artichokes: intestinal transport, absorption, fermentation, and influence on blood
glucose, insulin, and C-peptide responses in healthy subjects. Am J Clin Nutr 1990;52:675-81.
Rushdi TA, Pichard C, Khater YH. Control of diarrhea by fiber-enriched diet in ICU patients on enteral nutrition: a prospective randomized controlled trial. Clin
Nutr 2004;23(6):1344-52.
Spapen H, Diltoer M, Van Malderen C, Opdenacker G, Suys E, Huyghens L. Soluble fiber reduces the incidence of diarrhea in septic patients receiving total
enteral nutrition: a prospective, double-blind, randomized, and controlled trial. Clin Nutr 2001;20(4):301-5.
Schneider SM, Girard-Pipau F, Anty R, van der Linde EG, Philipsen-Geerling BJ, Knol J, et al. Effects of total enteral nutrition supplemented with a multifibre
mix on faecal short-chain fatty acids and microbiota. Clin Nutr 2006;25:82-90.
Yang G, Wu X-T, Zhou Y, Wang Y-L. Application of dietary fiber in clinical enteralnutrition-A meta-analysis of randomized controlled trials. World J Gastroenterol 2005;11(25):3935-8.
Tarleton SM, Kraft CA. Fiber-Enriched enteral formulae advantageous or adding fuel to the Fire? Practical
gastroenterology 2013(Nutrition issues in gastroenterology, series#124).
Williams CM, Jackson KG. Inulin and oligofructose: effects on lipid metabolism from human studies. British Journal of Nutrition 2002;87(2):261-4.
Anette Pedersen, Brittmarie Sandstrom. The effect of ingestion of inulin on blood lipids and gastrointestinal symptoms in healthy females.British Journal of
Nutrition 1997;78:215-22.
Causey JL, Feirtag JM, Gallaher DD. Effects of dietary inulin on serum lipids, blood glucose and the gastrointestinal environment in hypercholesterolemic men. Nutrition Research 2000;20(2):191-201.
David C Frankenfield and Peter L Bayer. Soy-polysaccharides fiber:effect in diarrhea on tube fed,head injured patient. Am J clin Nutr 1989;50:533-8.
กรมอนามัย. ข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันและแนวทางการบริโภคสำหรับคนไทย. 2532.
Lewis S, Burmeister S, Cohen S, Brazier J, Awasthi
A. Failure of dietary oligofructose to prevent antibiotic-associated diarrhoea. Alimentary pharmacology & therapeutics. 2005;21(4):469-77.
Borromei C, Careri M, Cavazza A. Evaluation of fructooligosaccharides and inulins as potentially health benefiting food ingredients by HPAEC-PED and
MALDI-TOF MS. International Journal of Analytical Chemistry. 2009; article 530639.
Lewis S, Burmeister S, Brazier J. Effect of the prebiotic oligofructose on relapse of clostridium difficileassociated diarrhea- A Randomized, Controlled Study.
Clin Gastroenterol Hepatol 2005;3:442-8.
Vrese Md, Marteau PR. Probiotics and prebiotics effects on diarrhea. J Nutr 2007;137:803S-11.
Hunter JO, Tuffnell Q, Lee AJ. Controlled trial of oligofructose in the management of irritable bowel syndrome. J Nutr 1999;129:1451S-3.
Pearce CB. Enteral feeding. Nasogastric, nasojejunal, percutaneous endoscopic gastrostomy, or jejunostomy:its indications and limitations. Postgrad Med J.
;78:198-204.
Elia M, Engfer MB, Green CJ, Silk DB. Systematic review and meta-analysis: the clinical and physiological effects of fibre-containing enteral formulae. Alimen
Pharmacol Ther 2008;27(2):120-45.
Khalil L, et al. The effect of enteral fibre-containing feeds on stool parameters in the post-surgical period Singapore Med J 1998;39(4):156-9.
Silk DB. Fibre and enteral nutrition. Gut 1989;30:246-64.
Frankenfield DC, Beyer PL. Soy-polysaccharide fibre:effect on diarrhoea in tube-fed, head-injured patients. Am J Clin Nutr 1989;50:533-8
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ลงใน Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด หากบุคคลหรืหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ก่อนเท่านั้น