การอดอาหารเป็นช่วงๆนั้นดีจริงหรือ
คำสำคัญ:
คำจำกัดความของการอดอาหารเป็นช่วงๆ (Intermittent Fasting; IF)บทคัดย่อ
ในอดีตและปัจจุบันมีความเชื่อของบางศาสนาเรื่องเกี่ยวกับการอดอาหารเช่นศาสนาอิสลาม มีการทำเรามะฎอน (ramadan) หรือถือศีลอดในเดือนที่เก้าของปฏิทินฮิจเราะห์เป็นเดือนทั้งเดือนที่ถือศีลอดตั้งแต่พระอาทิตย์ขึ้นจนพระอาทิตย์ตกหรือเรียกอีกชื่อว่าเดือนบวชที่จะต้องอดอาหารเพื่อที่จะได้เข้าถึงอัลลอฮ์และเพื่อให้มีความอดทนการอุทิศส่วนกุศล ระรึกถึงภาวะขาดแคลนอาหาร และผู้ที่ไม่ได้รับการดูแลจากสังคม ในศาสนาพุทธพระฉันเพียง 1-2 มื้อต่อวัน และก่อนเที่ยงซึ่งระยะเวลาการอดอาหารนานกว่าเพราะพระต้องทำทุกวัน ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการอดอาหารเป็นช่วงๆนั้นได้มีการปฏิบัติกันมานานแล้วตามความเชื่อของศาสนาต่างๆ แต่จะมีประโยชน์มากน้อยต่อสุขภาพของคนทั่วไป ผู้ป่วยโรคอ้วนหรือในโรคเบาหวานในบทความนี้จะกล่าวกันต่อไป
References
Tinsley G, La Bounty P. Effects of intermittent fasting on body composition and clinical health markers in humans. Nutr Rev. 2015;73(10):661-74.
Ganesan K, et al. Intermittent Fasting: The Choice for a Healthier Lifestyle. Cureus. 2018;10(7): e2947.
Moro T, et al. Effects of eight weeks of time-restricted feeding (16/8) on basal metabolism, maximal strength, body composition, inflammation, and cardiovascular risk factors in resistance-trained males. J Trans Med. 2016;13;14(1):290.
Seimon R, et al. Do intermittent diets provide physiological benefits over continuous diets for weight loss? A systematic review of clinical trials. Mol Cell
Endocrinol. 2015;418(Pt 2):153-72.
Harris L, et al. 2018. Intermittent fasting interventions for the treatment of overweight and obesity in adults aged 18 years and over: a systematic review
and meta-analysis. JBI Database of Systematic Reviews and Implementation Reports, 16(2), pp. 507-547.
Furmli S, Elmasry R, Ramos M, et al. Therapeutic use of intermittent fasting for people with type 2 diabetes as an alternative to insulin Case Reports
;2018:bcr-2017-221854.
Carter S, et al. Effect of intermittent compared with continuous energy restricted diet on glycemic control in patients with type 2 diabetes: A randomized
noninferiority trial. JAMA Network Open. 2018;1(3):e180756.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ลงใน Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด หากบุคคลหรืหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ก่อนเท่านั้น