สาเหตุทางพันธุกรรมของโรคอ้วน
บทคัดย่อ
ปัจจุบันโรคอ้วนมีความชุกเพิ่มมากขึ้น โดยมีสาเหตุจากพฤติกรรม สิ่งแวดล้อม และพันธุกรรม การตรวจทางพันธุกรรมในยุคปัจจุบันมีความก้าวหน้า สามารถตรวจค้นพบยีนหลายชนิดที่เป็นสาเหตุของโรคอ้วน ทำให้ผู้ป่วยมีอาการหิวและ
รับประทานอาหารเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่เป็นโรคอ้วนรุนแรงตั้งแต่วัยเยาว์ และผู้ป่วยเหล่านี้ยังมีลักษณะฟีโนไทป์อื่นร่วมด้วย เช่น ความผิดปกติของระบบฮอร์โมน ระบบประสาท เป็นต้น สาเหตุทางพันธุกรรมในโรคอ้วน สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ โรคอ้วนที่เกิดจากยีนเดี่ยว โรคอ้วนแบบกลุ่มอาการ และโรคอ้วนที่เกิดจากยีนหลายตัว ในบทความนี้จะกล่าวถึงเฉพาะสองกลุ่มแรก การค้นพบสาเหตุทางพันธุกรรมที่ทำให้เกิดโรคอ้วน นำไปสู่การพัฒนายาที่ใช้ในการรักษา อย่างไรก็ตาม วิธีการรักษากลุ่มโรคนี้ส่วนใหญ่ยังอยู่ในระหว่างการวิจัย และจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทั้งด้านวิธีการตรวจและการรักษาต่อไป
References
World Health Organization. Western Pacific Region. The International Association for the Study of Obesity and the International Obesity Task Force. The Asia–Pacific perspective: redefining obesity and its treatment. Sydney, Australia: Health Communications Australia Pty Limited; 2000.
World Health Organization. Obesity and overweight Fact sheet. [Internet] 2020 [cited 2020 Apr 1]; Available from: URL: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/obesity-and-overweight
De Onis M, Blössner M, Borghi E. Global prevalence and trends of overweight and obesity among preschool children. Am J Clin Nutr 2010;92(5):1257-64.
วิชัย เอกพลากร, ลัดดา เหมาะสุวรรณ, นิชรา เรืองดารกานนท์, วราภรณ์ เสถียรนพเกล้า, หทัยชนก พรรคเจริญ. การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557.นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559.
วิชัย เอกพลากร, เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม, สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล, หทัยชนก พรรคเจริญ, วราภรณ์ เสถียร นพเกล้า, กนิษฐา ไทยกล้า. การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552. นนทบุรี: บริษัท เดอะ กราฟิโก ซิสเต็มส์ จำกัด, 2553.
Pennington AW. A reorientation on obesity. N Engl J Med 1953;248(23):959-64.
Jou C. The biology and genetics of obesity—a century of inquiries. N Engl J Med 2014;370(20):1874-7.
Stunkard AJ, Sørensen TI, Hanis C, Teasdale TW, Chakraborty R, Schull WJ, et al. An adoption study of human obesity. N Engl J Med 1986;314(4):193-8.
Silventoinen K, Rokholm B, Kaprio J, Sørensen TI. The genetic and environmental influences on childhood obesity: a systematic review of twin and adoption studies. Int J Obes 2010;34(1):29.
Morton GJ, Cummings DE, Baskin DG, Barsh GS, Schwartz MW. Central nervous system control of food intake and body weight. Nature 2006;443(7109):289.
Cowley MA, Smart JL, Rubinstein M, Cerdán MG, Diano S, Horvath TL, et al. Leptin activates anorexigenic POMC neurons through a neural network in the arcuate nucleus. Nature 2001;411(6836):480.
Millington GW, Tung YC, Hewson AK, O’rahilly S, Dickson SL. Differential effects of alpha-, beta- and gamma(2)-me-lanocyte-stimulating hormones on hypothalamic neuronal activation and feeding in the fasted rat. Neuroscience 2001;108(3):437-45.
Harrold JA, Williams G. Melanocortin-4 receptors, beta-MSH and leptin: key elements in the satiety pathway. Peptides 2006;27(2):365-71.
Huvenne H, Dubern B, Clément K, Poitou C. Rare genetic forms of obesity: clinical approach and current treatments in 2016. Obesity Facts 2016;9(3):158-73.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ลงใน Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด หากบุคคลหรืหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก Thai JPEN วารสารโภชนบำบัด ก่อนเท่านั้น