การพัฒนาและประเมินผลรูปแบบการสร้างเสริมการดูแลตนเอง สำหรับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต

Main Article Content

สุพัตรา ธรรมธิษฐาน
สุพรพรรณ์ กิจบรรยงเลิศ
บุญรอด ปุยฝ้าย

บทคัดย่อ

การวิจัยและพัฒนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่่อพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวและประเมินผลภายหลังการนำรูปแบบ ฯ มาใช้ที่่คลินิกหัวใจ
ล้มเหลว โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ในเรื่่อง (1) ผลลัพธ์ทางคลินิก (การกลับเข้านอนโรงพยาบาลภาวะน้ำเกิน ระดับความเครียด) (2) ผลลัพธ์ระยะกลาง (การดูแลตนเอง และความรู้การดูแลตนเองของผู้ป่่วยภาวะหัวใจล้มเหลว) และ (3) ความพึงพอใจต่อรูปแบบ ฯ ดำเนินการวิจัย 4 ระยะ คือ ระยะที่่ 1 วิเคราะห์สถานการณ์และศึกษาข้อมูลที่่เกี่่ยวข้อง ระยะที่่ 2 พัฒนารูปแบบการสร้างเสริมการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ระยะที่่ 3 นำรูปแบบ ฯ ไปใช้และประเมินผลลัพธ์ และระยะที่่ 4 ปรับปรุงรูปแบบ ฯ และข้อเสนอแนะ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่่มารับบริการที่่คลินิก ฯ ทุกรายที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ 26 คน ทีมสหสาขาวิชาชีพ 6 คน และเครือข่าย อสม. 15 คน มีผู้เข้าร่วมการสัมภาษณ์ ในระยะที่่ 1 จำนวน 13, 6 และ 5 คน ตามลำดับ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านการตรวจสอบคุณภาพด้านความตรงและความเที่่ยง วิเคราะห์เนื้้อหาของข้อมูลเชิงคุณภาพส่วนข้อมูลเชิงปริมิาณวิเคราะห์เปรียบเทียบผลลัพธ์ก่อนและหลังการนำรูปแบบ ฯ ไปใช้ด้วยสถิติแมคนีมาร์ และวิลคอกซันไซน์แรงค์ ผลการศึกษาพบว่าผลลัพธ์ทางคลินิกดีขึ้้นอย่่าง
มีนัยสำคัญ คะแนนการดูแลตนเองรายด้านและความรู้การดูแลตนเองในภาพรวมสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ทีมสหสาขาวิชาชีพและเครือข่าย อสม. มีความพึงพอใจเพิ่มขึ้้นอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนความพึงพอใจของผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นแต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติควรมีการใช้รูปแบบ ฯ ที่พัฒนาและปรับปรุงจากการศึกษานี้ไปใช้อย่างต่อเนื่องต่อไป

Downloads

Article Details

How to Cite
ธรรมธิษฐาน ส., กิจบรรยงเลิศ ส., & ปุยฝ้าย บ. (2023). การพัฒนาและประเมินผลรูปแบบการสร้างเสริมการดูแลตนเอง สำหรับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต. วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย, 9(2), 5–22. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/apnj/article/view/259311
บท
บทความวิจัย

References

Aroonsang P. Nursing care of coronary artery disease patients. Faculty of Nursing, Khon Kaen University,

th ed. Khon Kaen; 2013. (In Thai)

Chunharas P, Yingchoncharoen T, Kunchorn Na Ayutthaya R. 2019 HFCT heart failure guideline thai version. The heart association of Thailand under the royal patronage. Next step D-sign Limited Partnership. Bangkok; 2019. (In Thai)

Cao X, Wang XH, Wong EM, Chow CK, Chair SY. Type D personality negatively associated with selfcare in Chinese heart failure patients. JGC 2016 Jul;13(5):401.

Suwanno J, Petsirasan R, Praseartthai P, Chanpradit R, Saisuk W. Self-care among patients with chronic heart failure. TJNC 2012 Sep5;23(1):35-47. (In Thai)

Riegel B, Jaarsma T, Strömberg A. A middle-range theory of self-care of chronic illness. ANS 2012 Jul 1;35(3):194-204.

Riegel B, Dickson VV, Faulkner KM. The situationspecific theory of heart failure self-care: revised and updated. JCN 2016 May 1;31(3):226-35.

Khitka P, Sittisombut S, Chaiard J. Interventions for promoting self-care behaviors among persons with

heart failure: A systematic review. Nursing Journal 2017Oct-Dec; 44(4): 71-80. (In Thai)

Riegel B, Westland H, Iovino P, Barelds I, Slot JB, Stawnychy MA, Osokpo O, Tarbi E, Trappenburg JC, Vellone E, Strömberg A. Characteristics of self-care interventions for patients with a chronic condition: A scoping review. IJNS 2021 Apr 1; 116:103713.

The Heart Association of Thailand under the Royal Patronage. TH HF Guideline 2014. A Plus Print company limited. Bankok; 2014. (In Thai)

Damrongratnuwong W, Masingboon K. New finalthai-version self-care-of-heart-failure-index. [cited 2022 June 5] Available from : URL: http://self-care-measures.com/wp content/uploads/2020/11/New_Final-Thai-version_Self-Care-of-Heart-Failure-Index-3Nov20.docx) (In Thai)

Vellone E, Maria MD, Iovino P, Barbaranelli C. Zeffiro V. Pucciarelli G.,… & Riegel B. The self-care of heart failure index version 7.2: Further psychometric testing. RINAH 2020 Dec;43(6): 640-650. doi: 10.1002/nur.22083

Riegel B, Lee CS, Dickson VV, Carlson B. An update on the self-care of heart failure index. JCN 2009 Nov;24(6):485.

Department of Mental Health, Ministry of Public Health. Guidelines for using mental health tools for health workers in community hospitals (Clinical Chronic Disease) Revised Edition. Agricultural cooperative printing demonstrations of Thai Co., Ltd. Nonthaburi;2015. (In Thai)

Aghajanloo A, Negarandeh R, Janani L, Tanha K, Hoseini-Esfidarjani SS. Self-care status in patients with heart failure: Systematic review and metaanalysis. Nursing open. 2021 Sep;8(5):2235-48.

Lee JA, Choi M, Lee SA, Jiang N. Effective behavioral intervention strategies using mobile health applications for chronic disease management: a systematic review. BMC Med. Inform. Decis. Mak 2018 Dec;18(1):1-8.

Sanprasan P, Wattradul D, Soontornsawad N, Pitsachart N. Factors contributing to the development of care for cardiovascular patients and risky groups in hospitals qualified for Provincial Healthcare Network Certification (PNC) : A qualitative research. Thai J. Cardio-Thorac Nurs 2018Jul-Dec;29 (2):141-156. (In Thai)

Deek H, Hamilton S, Brown N, Inglis SC, Digiacomo M, Newton PJ, Noureddine S, MacDonald PS, Davidson PM, FAMILY Project Investigators. Family-centred approaches to healthcare interventions in chronic diseases in adults: a quantitative systematic review. JAN 2016 May; 72(5):968-79.

Kasemsuk W, Koshakri R. The need to improve of health volunteer’s ability in home visit for diabetes people in communities. JRTAN 2015; 16 (2): 59-68. (In Thai)