การพัฒนานวัตกรรมอุปกรณ์ยกแขนสูงช่วยลดปวดและบวมในผู้ป่วยหลังผ่าตัดแขนและมือ: การวิจัยการออกแบบและพัฒนา

Main Article Content

เพชรรัตน์ ยอดเจริญ
จิณพิชญ์ชา สาธิยมาส

บทคัดย่อ

การวิจัยการออกแบบและพัฒนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานวัตกรรมอุปกรณ์ยกแขนสูงโดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านพยาธิสรีริวิทยาร่วมกับแนวคิดเชิงออกแบบและการทบทวนวรรณกรรมเป็นกรอบแนวคิดการวิจัย กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยหลังผ่าตัดแขนและมือ จำนวน 30 ราย ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรมระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงมิถุนายน 256 5 เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัยคืออุปกรณ์ยกแขนสูงที่สามารถปรับองศาได้ 4 ระดับ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบประเมินอาการบวมด้วยการวัดขนาดเส้นรอบวง กึ่งกลางของต้นแขน กึ่งกลางของแขนท่อนล่าง และข้อมือ 2) แบบประเมินความปวด และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน และการตรวจสอบความเที่ยงมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ 1.00 .9 4 และ.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติพรรณนา วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนความปวดและค่าเฉลี่ยเส้นรอบวงทั้งสามตำแหน่งในวันที่ 1 วันที่ 2และวันที่ 3 หลังผ่าตัดด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดช้ำ ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความปวด และค่าเฉลี่ยเส้นรอบวงทั้งสามตำแหน่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ IF(3,87) - 504.09, p < .001] และ IF(3,87 ) = 1090.46, p <.0011 ตามลำดับระดับความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อนวัตกรรมอยู่ในระดับดี ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่านวัตกรรมนี้ช่วยทำให้การยกแขนสูงเป็นตามแผนการรักษาของแพทย์ได้ต่อเนื่อง และช่วยส่งเสริมการไหลเวียนเลือดซึ่งนำไปสู่การลดคะแนนความปวดและอัตราการบวมภายหลังการผ่าตัด จึงเป็นแนวทางการพัฒนานวัตกรรมต่อยอดเพื่อประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลต่อไป

Downloads

Article Details

How to Cite
ยอดเจริญ เ. ., & สาธิยมาส จ. . (2024). การพัฒนานวัตกรรมอุปกรณ์ยกแขนสูงช่วยลดปวดและบวมในผู้ป่วยหลังผ่าตัดแขนและมือ: การวิจัยการออกแบบและพัฒนา. วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย, 11(1), 112–125. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/apnj/article/view/268109
บท
บทความวิจัย

References

Pereira MF, Prahm C, Kolbenschlag J, et al. Application of AR and VR in hand rehabilitation: A systematic review. J Biomed Inform. 2022; 111: 103584. doi: 10.1016/j.jbi.2020.103584.

Lemma K, Chanprasit C, Kaewthummanukul T. Work Related Injuries and Safe Work Behavior among Autoparts Manufacturing Workers. Nursing J. 2018; 45(4): 56–70. Thai.

Peck CJ, Carney M, Chiu A, et al. Sex, race, insurance, and pain: Do patient sociodemographics influence postoperative opioid prescriptions among hand surgeons?. Hand. 2022; 17(6): 1133-1138. doi: 10.1177/1558944721998020.

El Barbari JS, Schnetzke M, Bergmann MB, et al. Vascular impulse technology versus elevation for reducing the swelling of upper and lower extremity joint fractures. Sci. Rep. 2023; 13(1): 661. doi: 10.1038/s41598-022-27231-6.

Sathiyamas J. Orthopedic Nursing. Pratumthani: Thammasat Press; 2023. Thai.

Kisel J, Khatib M, Cavale N. A Comparison Between Piezo surgery and Conventional Osteotomies in Rhinoplasty on Post-Operative Oedema and Ecchymosis: A Systematic Review. Aesthetic Plast Surg. 2023; 47(3): 1144-54. doi: 10.1007/s00266-022-03100-5.

Hamza FA, Zayid T. Treatment modalities of complex regional pain syndrome after hand surgery: A systematic review and meta-analysis study. AIMJ. 2022; 3(11): 9-17. doi: 10.21608/aimj.2022.144355.1988.

Priganc V, Walter JR, Sublett SH. Edema assessment and management practice patterns among hand therapists: Survey research. J Hand Ther. 2020; 33(3): 378-85. doi: 10.1016/j.jht.2019.04.005.

Yamazaki H, Hayashi M, Miyaoka S, et al. Venous perfusion assist system has no additional effect compared to simple elevation on post-operative edema in patients with distal radial fracture treated with volar locking plate fixation: a randomized controlled trial. J. Orthop. Sci. 2019; 24(3): 441-6. doi: 10.1016/j.jos.2018.11.009.

Zainuddin Z, Newton M, Sacco P, et al. Effect of massage on Delayed onset muscle soreness, Swelling and recovery of muscle function. Journal of Athletic. 2005; 40(3): 174-80.

Richey RC, Klein JD. Design and development research: Methods, strategies, and issues. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates, Publishers; 2007.

Kidjawan N. Design thinking process: New perspective in Thai healthcare system. JTNMC. 2018; 33(1): 5-14. Thai.

Roddy L, Polfuss M. Employing design thinking methods in nursing to improve patient outcomes. Nurs Forum. 2020; 55(4): 553-8. doi: 10.1111/nuf.12461.

Kongthongdee P, Porncharoen R, Pasuwan C. Splinting Design for Relieving Carpal Tunnel Syndrome. AJNU. 2013; 4(2): 68-79.

Giudice ML. Effects of continuous passive motion and elevation on hand edema. Am J Occup Ther. 1990; 44 (10): 914-21. doi: 10.5014/ajot.44.10.914.

Ahmadinejad M, Razban F, Jahani Y, et al. Limb edema in critically ill patients: Comparing intermittent compression and elevation. Int Wound J. 2022; 1085.

Kroeze M, Rakhorst H, Houpt P. Arm sling after carpal tunnel surgery: myth or evidence based. J Hand Surg Am. 2020; 45(3): 255-9. doi: 10.1177/1753193419880312.

Fagan DJ, Evans A, Ghandour A, et al. A controlled clinical trial of postoperative hand elevation at home following day-case surgery. J Hand Surg Eur Vol. 2004; 29(5): 458-60. doi: 10.1016/j.jhsb.2004.04.008.