การถอนฟันและขูดหินปูนในผู้ป่วยที่ได้รับยาวาร์ฟารินโดยไม่หยุดยา : รายงานผู้ป่วย

ผู้แต่ง

  • Narimon Limprasert, D.D.S. กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลนครปฐม

คำสำคัญ:

การถอนฟัน, เหงือกอักเสบ

บทคัดย่อ

ผู้วิจัยได้รายงานผู้ป่วยชายไทยอายุ 72 ปี ที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดวาร์ฟาริน สามารถรับการรักษาทางทันตกรรม โดยการถอนฟันกรามล่างซ้ายซี่ที่หนึ่งออก ในขณะที่ค่า International Normalized Ratio (INR) = 2.9 และทำการขูดหินปูนในสภาพที่เหงือกค่อนข้างอักเสบมากที่ค่า INR=2.0 โดยไม่ได้งด หรือปรับลดยาวาร์ฟาริน หลังทำไม่พบปัญหาเลือดหยุดยากแต่อย่างใด

References

1. วาสนา นกเอี้ยงทอง. การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาวาร์ฟารินก่อนและหลังเข้ารับการรักษาในคลินิกวาร์ฟารินของโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์เขต 4-5 2557;33(2):85-91.

2. Abdullah WA, Khalil H. Dental extraction in patients on warfarin treatment. Clin Cosmet Investig Dent 2014;6:65-9.

3. Nematullah A, Alabousi A, Blanas N, et al. Dental surgery for patients on anticoagulant therapy with warfarin: a systematic review and meta-analysis. Tex Dent J 2009;126(12):1183-93.

4. Evans IL, Sayers MS, Gibbons AJ, et al.Can warfarin be continued during dental extraction? Result of a randomized controlled trial. Br J Oral Maxillofac Surg 2002;40(3):248-52.

5. Wahl MJ. Dental surgery in anticoagulated patients. Arch Intern Med 1998;158(15):1610-6.

6. Randall C. Surgical management of the primary care dental patient on warfarin. Date of latest revision: North West Medicines Information Centre. [Serial online] 2007 March [cited 2014 Jan 15]. Available from: URL: http://www.app.dundee.ac.uk/tuith/Static/infro/warfarin.pdf

7. Perry DJ, Nokes TJC, Heliwell PS. Guidelines for the management of patients on oral anticoagulants requiring dental surgery. 2011 September [cited 2014 Jan 15]. Available from: URL: http://www.bcshguidelines.com/documents/WarfarinandentalSurgery_bjh_264_2007.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-04-22