ปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคติดเชื้อหนองในช่องเยื่อหุ้มปอดที่รักษาด้วยการผ่าตัดในโรงพยาบาลราชบุรี
บทคัดย่อ
โรคติดเชื้อหนอง ในช่องเยื่อหุ้มปอดเป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นบ่อยหลังจากการติดเชื้อที่ปอด การผ่าตัดเป็นการรักษาที่ได้ผลดี ผลของการรักษาด้วยการผ่าตัดนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง
วัตถุประสงค์: เพื่อหาปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลในการผ่าตัดโรคติดเชื้อหนอง ในเยื่อหุ้มปอด
วิธีการศึกษา: เป็นการเก็บข้อมูลย้อนหลังจากผู้ป่วยในโรงพยาบาลราชบุรีที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคติดเชื้อหนอง ในช่องเยื่อหุ้มปอด โดยการเจาะน้ำจากปอดหรือการใส่สายระบายที่หน้าอก และได้รับการผ่าตัดระหว่างเดือนกรกฎาคม 2558 ถึง มิถุนายน 2559
ผลการศึกษา: ในการศึกษานี้ ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาตั้งแต่เข้านอนโรงพยาบาลถึงผ่าตัด และระยะเวลาจากวินิจฉัยถึงผ่าตัด (p <0.01) โดยที่ไม่สัมพันธ์กับระยะเวลานอนโรงพยาบาลถึงวินิจฉัยที่ (p = 0.169) มีผู้ป่วยเสียชีวิต 2 ราย (ร้อยละ 4.3) ระยะเวลาการรอผ่าตัดหลังได้รับการวินิจฉัยน้อยกว่าหรือเท่ากับ 14 วัน จะมีระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลที่น้อยลง (p = 0.024)
สรุป: ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลนั้นสัมพันธ์กับระยะเวลาตั้งแต่เข้านอนโรงพยาบาลถึงผ่าตัด และระยะเวลาจากวินิจฉัยถึงผ่าตัด โดยผ่าตัดภายใน 14 วัน ช่วยลดระยะเวลาการนอนโรงพยาบาล การนำผู้ป่วยไปผ่าตัดเร็วขึ้นจะช่วยลดระยะเวลาการนอนโรงพยาบาล
References
2. Ahmed RA, Marrie TJ, Huang JQ. Thoracic empyema in patients with communityacquired pneumonia. Am J Med 2006;119(10):877-83.
3. Ashbaugh DG. Empyema thoracis. Factors influencing morbidity and mortality. Chest 1991;99(5):1162-5.
4. Ferguson AD, Prescott RJ, Selkon JB, et al. The clinical course and management of thoracic empyema. QJM 1996;89(4):285-9.
5. Mandal AK, Thadepalli H, Mandal AK, et al. Outcome of primary empyema thoracis: therapeutic and microbiologic aspects. Ann Thorac Surg 1998;66(5):1782-6.
6. Davies CW, Kearney SE, Gleeson FV, et al. Predictors of outcome and long-term survival in patients with pleural infection. Am J Respir Crit Care Med 1999;160(5 Pt 1):1682-7.
7. Brixey AG, Luo Y, Skouras V, et al. The efficacy of chest radiographs in detecting parapneumonic effusions. Respirology 2011;16(6):1000-4.
8. LeMense GP, Strange C, Sahn SA. Empyema thoracis. Therapeutic management and outcome. Chest 1995;107(6):1532-7.
9. Galea JL, De Souza A, Beggs D, et al. The surgical management of empyema thoracis. J R Coll Surg Edinb 1997;42(1):15-8.
10. Lawrence DR, Ohri SK, Moxon RE, et al. Thoracoscopic debridement of empyema thoracis. Ann Thorac Surg 1997;64(5):1448-50.
11. Thourani VH, Brady KM, Mansour KA, et al. Evaluation of treatment modalities for thoracic empyema: a cost-effectiveness analysis. Ann Thorac Surg 1998;66(4):1121-7.
12. Bilgin M, Akcali Y, Oguzkaya F. Benefits of early aggressive management of empyema thoracis. ANZ J Surg 2006;76(3):120-2.
13. Yu D, Buchvald F, Brandt B, et al. Seventeen-year study shows rise in parapneumonic effusion and empyema with higher treatment failure after chest tube drainage. Acta Paediatr 2014;103(1):93-9.
14. Ghritlaharey RK, Budhwani KS, Shrivastava DK, et al. Tube thoracostomy: primary management option for empyema thoracis in children. Afr J Paediatr Surg 2012;9(1):22-6.
15. Horsley A, Jones L, White J, et al. Efficacy and complications of small-bore, wire-guided chest drains. Chest 2006;130(6):1857-63.
16. Shen KR, Bribriesco A, Crabtree T, et al. The American Association for Thoracic Surgery consensus guidelines for the management of empyema. J Thorac Cardiovasc Surg 2017;153(6):e129-e46.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนบทความ แต่หากผลงานของท่านได้รับการพิจารณาตีพิมพ์ลงวารสารแพทย์เขต 4-5 จะคงไว้ซึ่งสิทธิ์ในการตีพิมพ์ครั้งแรกด้วยเหตุที่บทความจะปรากฎในวารสารที่เข้าถึงได้ จึงอนุญาตให้นำบทความในวารสารไปใช้ประโยชน์ได้ในเชิงวิชาการโดยจำเป็นต้องมีการอ้างอิงถึงชื่อวารสารอย่างถูกต้อง แต่ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ในเชิงพาณิชย์