ลิ้นติดในมุมมองของหมอฟัน

ผู้แต่ง

  • จริยา โล่ห์สวัสดิ์กุล ทพญ., กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี

คำสำคัญ:

ลิ้นติด, แนวทางการรักษา, สุขภาพช่องปาก

บทคัดย่อ

ลิ้นติด หรือพังผืดใต้ลิ้น คือ การมีพังผืดใต้ลิ้นเกาะสูงมาทางปลายลิ้นมากกว่าปกติ หรือยึดติดแน่น ซึ่งจะทําให้ การเคลื่อนไหวของลิ้นไม่ดีพอการตรวจและรักษาได้ทันท่วงทีจะลดปัญหาการดูดนมในเด็กทารกการออกเสียงในเด็กโต รวมทั้งการเจ็บปวดหัวนมของมารดาจนเกิดปัญหาอุปสรรคการให้นมแม่ และเกิดผลเสียต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารก

การเลือกวิธีการรักษาลิ้นติด ขึ้นกับการวินิจฉัยระดับความรุนแรง ซึ่งส่วนใหญ่ใช้วิธีผ่าตัดแก้ไข การรักษาลิ้นติดนอกจากเพื่อประโยชน์ต่อเด็กและมารดาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นสำคัญแล้ว ยังมีปัญหาสุขภาพด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น สุขภาพช่องปาก การออกเสียง จิตวิทยาบุคลิกภาพ

บทความนี้นำเสนอสาเหตุ อุบัติการณ์แนวทางการวินิจฉัย วิธีการรักษาลิ้นติด และนำเสนอหัวข้อที่น่าสนใจศึกษาค้นคว้าต่อไป

References

1. Knox I. Tongue Tie and Frenotomy in the Breastfeeding Newborn. NeoReviews. 2010; 11(9): 513-9.

2. มงคล เลาหเพ็ญแสง. พังผืดใต้ลิ้นปัญหาของเจ้าตัวเล็ก [อินเทอร์เน็ต]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ 18 พฤษภาคม 2563]; เข้าถึงได้จาก: https://www.si.mahidol.ac.th/Th/healthdetail.asp?aid=1039.

3. Callahan CO, Macary S, Clemente S.The effects of office-based frenotomy for anterior and posterior ankyloglossia on breastfeeding. International Journal of Pediatric Otorhinolaryngology.2013; 77(5): 827–32.

4. Lalakea ML, Messner AH. Ankyloglossia:doesitmatter?. Pediatric Clinics of North America. 2003; 50(2): 381-97. doi: 10.1016/s0031-3955(03)00029-4.

5. World Health Organisation-United Nations Children’s Fund. Global Strategy for Infant and Young Child Feeding. Switzerland: World Health Organization; 2003.

6. Walsh J, Links A, Boss E, et L. Ankyloglossia and Lingual Frenotomy: National Trends in Inpatient Diagnosis and Management in the United States, 1997-2012. Otolaryngol Head Neck Surg. 2017; 156(4): 735–40. doi: 10.1177/0194599817690135.

7. Olivi G, Signore A, Olivi M. Lingual Frenectomy: functional evaluation and new therapeutical approach. Eur J Paediatr Dent. 2012; 13(2): 101-6.

8. Bhattad MS, Baliga MS, Kriplani R. Clinical guidelines and management of ankyloglossia with 1-year followup: report of 3 cases. Case Rep Dent. 2013; 2013: 185803. doi: 10.1155/2013/185803.

9. สิริพรรณ จำปาเงิน. การพัฒนากระบวนการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะลิ้นติดโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จังหวัดสุพรรณบุรี.วารสารวิชาการสาธารณสุข สำนักวิชาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. 2559; 25(2): 237-45.

10. วีระพงษ์ ฉัตรานนท. ลิ้นติด[อินเทอร์เน็ต]. 2549 [เข้าถึงเมื่อ 19 พ.ค. 2563]; เข้าถึงได้จาก: https://www.breastfeedingthai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=345949

11.ชนิกานต์ ทิพากรโรจนกิจ. ภาวะลิ้นติดในทารกแรกเกิดในโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ [อินเทอร์เน็ต]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ 20 พ.ค. 2563]; เข้าถึงได้จาก: http://203.155.220.238/csc/attachments/article/159/doctor580702.pdf.

12. Francis DO, Krishnaswami S, McPheeters M. Treatment of Ankyloglossia and Breastfeeding Outcomes: A Systematic Review.Pediatrics. 2015;135(6): e1458-e1466. doi: https://doi.org/10.1542/peds.2015-0658.

13. ส่าหรี จิตตินันทน์. ลิ้นติด [อินเทอร์เน็ต]. 2549 [เข้าถึงเมื่อ 18 พ.ค. 2563]; เข้าถึงได้จาก: https://www.breastfeedingthai.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=345949.

14. Kotlow L.Diagnosis and treatment of ankyloglossia and tied maxillary fraenum in infants using Er:YaG and 1064 diode lasers. Eur Arch Paediatr Dent. 2001; 12(2): 106–12. doi: 10.1007/BF03262789.

15. ภาวิน พัวพรพงษ์. เครื่องมือช่วยวินิจฉัยภาวะลิ้นติดในทารกแรกเกิด (สาเหตุทำให้มารดาเจ็บหัวนมหลังคลอดและหยุดให้นม) [อินเทอร์เน็ต]. ม.ป.ป. [เข้าถึงเมื่อ 18 พ.ค. 2563]; เข้าถึงได้จาก: https://www.tech2biz.net/content/เครื่องมือช่วยวินิจฉัยภาวะลิ้นติดในทารกแรกเกิด.

16.Martinelli RLC, Marchesan IQ, Berretin-Felix G. Lingual Frenulum Protocol with Scores for Infants. Int J Orofacial Myology. 2012; 38: 104-12.

17.จรวยพร ศรีศศลักษณ์, อภิญญา ตันทวีวงศ์. โรงพยาบาลศริริาช กรุงเทพมหานคร ยิ้มออกถ้วนหน้าเพราะ R2R หนุนนำ. ใน: จรวยพร ศรีศศลักษณ์, อภิญญา ตันทวีวงศ์, บรรณาธิการ. การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย (routine to research) R2R: เสริมสร้างพลังสร้างสรรค์และพัฒนา; 2-3 กรกฏาคม 2551; โรงแรมมิราเคิลแกรนด์. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; 2551.

18. Ballard J, Chantry C, Howard CR. Guidelines for the evaluation and management of neonatal ankyloglossia and its complications in the breastfeeding dyad. The Academy of Breastfeeding Medicine.2004; Feeding [Internet]. 2004 [cited 2020 May 18]; Available from: https://abm.memberclicks.net/assets/DOCUMENTS/PROTOCOLS/11-neonatal-ankyloglossia-protocol-english.pdf.

19. Breen S, Bradshaw C. Neonatal Tongue Tie: The Effectiveness of Intervention. J Pediatr Neonatal Care. 2016; 4(5): 00154. DOI: 10.15406/jpnc.2016.04.00154.

20. Association of Tongue Tie Practitioners. Tongue Tie and Infant Feeding [Internet].2016[cited 2020 May 18]; Available from:https://www.tongue-tie.org.uk.

21. Hasan N. Tongue tie as a cause of deformity of lower central incisor. J Pediatr Surg. 1973; 8(6): 985. doi: 10.1016/0022-3468(73)90037-7.

22. O'Shea JE, Foster JP, O'Donnell CPF, et al. Frenotomy for tongue-tie in newborn infants. Cochrane Database Syst Rev. 2017; 3(3): 1-30. doi: 10.1002/14651858.CD011065.pub2.

23. Dixon B, Gray J, Elliot N, et al. A multifaceted programme to reduce the rate of tongue-tie release surgery in newborn infants: Observational study. Int J Pediatr Otorhinolaryngol. 2018;113: 156–63. doi.org/10.1016/j.ijporl.2018.07.045.

24. Jin RR, Sutcliffe A, Vento M, et al. What does the world think of ankyloglossia?. Acta Paediatr. 2018; 107(10): 1733‐8. doi:10.1111/apa.14242.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-29