กรณีศึกษา: การรักษาเนื้องอกอะมีโลบลาสโตมาด้วยวิธีผ่าตัดขากรรไกรล่างบางส่วนโดยเอาข้อต่อขากรรไกรล่างออกพร้อมทั้งใส่เหล็กดามยึดพร้อมทั้งปลูกกระดูกทันที
คำสำคัญ:
อะมีโลบลาสโตมา, ผ่าตัดขากรรไกรออกบางส่วนบทคัดย่อ
อะมีโลบลาสโตมาเป็นเนื้องอกที่พบได้บ่อยในกลุ่มเนื้องอกเหตุกำเนิดจากฟันชนิดไม่ร้ายแรง โดยเนื้องอกยังแบ่งเป็นชนิดต่าง ๆ แต่ละชนิดมีพฤติกรรมทางคลินิก, ลักษณะทางภาพรังสี, และลักษณะทางจุลพยาธิวิทยาที่แตกต่างกัน ทำให้มีการพยากรณ์โรคที่แตกต่างกัน อัตราการกลับเป็นซ้ำของรอยโรคที่ค่อนข้างสูง โดยเฉพาะการรักษาแบบอนุรักษ์ จึงควรวางแผนการรักษาอย่างเหมาะสมร่วมกับการติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง
บทความนี้เป็นรายงานการรักษาผู้ป่วยอะมีโลบลาสโตมา เพศหญิง ชาวต่างชาติ อายุ 25 ปี ในบริเวณขากรรไกรล่างด้านซ้าย โดยวิธีการผ่าตัดขากรรไกรออกบางส่วนและใส่แผ่นเหล็กดามยึดร่วมกับการปลูกกระดูกจากสะโพกทันที ไม่พบการกลับมาเป็นซ้ำหลังการติดตามการรักษาเป็นเวลาห้าปี
References
Chungpanich S, Kietthubthew S, Sukboon A. Lesions of the jaws: a pathological review of 2,216 cases at Faculty of Dentistry, Prince of Songkla University between 1989–2007. J Dent Assoc Thai 2009;59:162–72.
El-Naggar AK, Chan JKC, Grandis JR, et al, editors. WHO classification of head and neck tumours. 4th ed. Geneva: WHO Press; 2017.
Maia EC, Sandrini FAL. Management techniques of ameloblastoma: a literature review. RGO 2017;65(1):62–9. doi: 10.1590/1981-863720170001000093070.
Almeida Rde A, Andrade ES, Barbalho JC, et al. Recurrence rate following treatment for primary multicystic ameloblastoma: systematic review and meta-analysis. Int J Oral Maxillofac Surg 2016;45(3):359–67. doi: 10.1016/j.ijom.2015.12.016.
สุดาทิพย์ แสงปัญหา, ศิริพงศ์ สิทธิสมวงศ์. การศึกษาย้อนหลังของผู้ป่วยโรคอะเมโลบลาสโทมา ในคณะ ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล 2562;33(2):106–17.
อรุณรัตน์ เวชเตง. การรักษาผู้ป่วยเนื้องอกอะมีโลบลาสโตมาด้วยวิธีผ่าตัดเชิงอนุรักษ์. วารสารวิชาการ แพทย์ เขต 11 2559;30(4):283–90.
Dhanuthai K. Odontogenic tumors in Thailand. Asian J Oral Maxillofac Surg 2004;16(3):166–71. doi: 10.1016/S0915-6992(04)80027-X.
Reichart PA, Philipsen HP, Sonner S. Ameloblastoma: biological profile of 3677 cases. Eur J Cancer B Oral Oncol 1995;31B(2):86–99. doi: 10.1016/0964-1955(94)00037-5.
Bianchi B, Ferri A, Ferrari S, et al. Mandibular resection and reconstruction in the management of extensive ameloblastoma. J Oral Maxillofac Surg 2013;71(3):528–37. doi: 10.1016/j.joms.2012.07.004.
Carlson ER, Marx RE. The ameloblastoma: primary, curative surgical management. J Oral Maxillofac Surg 2006;64(3):484–94. doi: 10.1016/j.joms.2005.11.032.
McClary AC, West RB, McClary AC, et al. Ameloblastoma: a clinical review and trends in management. Eur Arch Otorhinolaryngol 2016;273(7):1649–61. doi: 10.1007/s00405-015-3631-8.
Jewer DD, Boyd JB, Manktelow RT, et al. Orofacial and mandibular reconstruction with the iliac crest free flap: a review of 60 cases and a new method of classification. Plast Reconstr Surg 1989;84(3):391–403.
Hendra FN, Natsir Kalla DS, Van Cann EM, et al. Radical vs conservative treatment of intraosseous ameloblastoma: systematic review and meta-analysis. Oral Dis 2019;25(7):1683–96. doi: 10.1111/odi.13014.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนบทความ แต่หากผลงานของท่านได้รับการพิจารณาตีพิมพ์ลงวารสารแพทย์เขต 4-5 จะคงไว้ซึ่งสิทธิ์ในการตีพิมพ์ครั้งแรกด้วยเหตุที่บทความจะปรากฎในวารสารที่เข้าถึงได้ จึงอนุญาตให้นำบทความในวารสารไปใช้ประโยชน์ได้ในเชิงวิชาการโดยจำเป็นต้องมีการอ้างอิงถึงชื่อวารสารอย่างถูกต้อง แต่ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ในเชิงพาณิชย์