ประสิทธิผลของโปรแกรมการออกกำลังกายด้วยท่าฤๅษีดัดตนต่อระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงพื้นที่นำร่องสบช.โมเดลของวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก

ผู้แต่ง

  • เบญจวรรณ ศรีจันทร์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก
  • ศุภลักษณ์ ก้อนเทียน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก
  • กฤษฎนัย ศรีใจ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก
  • จินดา ม่วงแก่น วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก
  • เอนก สุภาพ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
  • จุฑามาศ ผุนลาวงษ์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก
  • ธีระวัฒน์ โพธิ์วัฒน์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก
  • รสสุคนธ์ แก้วป้องปก วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก
  • ธีรพล หล่อประดิษฐ์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก
  • รัศมี สุขนรินทร์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก

คำสำคัญ:

การออกกำลังกาย, ฤๅษีดัดตน, ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการออกกำลังกายด้วยท่าฤๅษีดัดตนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง พื้นที่นำร่อง สบช.โมเดล ของวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 30 คน คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยโปรแกรม G-Power สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย ใช้โปรแกรมการออกกำลังกายด้วยท่าฤๅษีดัดตน จำนวน 15 ท่า วันละ 15-20 นาที ติดต่อกัน 21 วัน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิตเชิงพรรณนา และ Paired samples t-test

ผลการวิจัย พบว่า ความรู้หลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ อยู่ในระดับสูง (𝑥̅±S.D.=7.93±1.38) ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ อยู่ในระดับความรู้ปานกลาง (𝑥̅±S.D.=6.13±0.81) ดีกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P< .001 ทัศนคติหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ (𝑥̅±S.D.=13.33±1.03) สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ (𝑥̅±S.D.=10.47±1.04) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P< .001 )พฤติกรรมหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ (𝑥̅±S.D.= 9.60±2.15) สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ (𝑥̅±S.D.= 6.47±1.73) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P< .001 และค่าความดันโลหิต Systolic และ Diastolic หลังการเข้าร่วมโปรแกรมฯ ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P= .023, P< .001 ตามลำดับ) จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการออกกำลังกายด้วยท่าฤๅษีดัดตนสามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมสำหรับลดความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรวมถึงกลุ่มเสี่ยงอื่นได้

References

Best, John. (1977). Research in Education. New Jersey: Prentice Hall, Inc. 1977.

Fu Q. & Levine BD. (2013). Exercise and the autonomic nervous system. Handb Clin Neurol, 117, 147-160.

Leelananthakul W., Saman N., Isasawin S., Obsuntorn S. & Maenpuen S. (2019). Effects of Ruesi Dadton selfstretching for chest exercise training on blood pressure heart rate and cardiopulmonary function in elderly subjects with primary essential hypertension. Thammasat Medical Journal, 19(2), 334-347. (in Thai)

The Department of Disease Control. (2022). The Department of Disease Control advises people to pay attention to their health and measure their blood pressure regularly. Prevention of hypertension and high blood pressure. Retrieved from https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=25290&deptcode=brc&newsviews=3383. (in Thai)

The Department of Thai Traditional and Alternative Medicine. (2021). Encourage Thais to use posture "15 Bending Recluses" exercise, abundant properties, anti-disease, longevity. Retrieved from https://www.dtam.moph.go.th/index.php/th/news/dtam-news/282-pr0142. (in Thai)

The Institute of Thai Traditional Medicine. (2022). Thai hermit exercise 15 basic poses version2. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=yAsLL29OWBY. (in Thai)

Sanitlou N., Sartphet W. & Yada N. (2019). Sample size calculation using G*Power program. Journal of Suvarnabhumi Institute of Technology (Humanities and Social Sciences), 5(1), 496-507. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/svittj/article/view/181958/136948. (in Thai)

Siriraj Piyamaharajkarun Hospital. (2022). Stretching poses Correct before and after exercise. Retrieved from: https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/1047. (in Thai)

Thianthavorn, V., & Chaitiang, N. (2022). Roles of Operations in the Production of Graduates in Health Sciences in the Next Decade of Praboromarajchanok Institute. Thai Journal of Public Health and Health Sciences, 5(1), 236–246. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tjph/article/view/254663. (in Thai)

Thiantongin P., Taemsri K., Chaithip P. & Singthong P. (2022). Effects of Thai Hermit Exercise on Heart Rate, Blood Pressure, Stress and Quality of Life in Sedentary Elderly. Christian University Journal 28(4), 15-27. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/CUTJ/article/view/251267/175411. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-05