การพัฒนาแนวทางปฏิบัติการป้องกันแผลกดทับใน ผู้ป่วยศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลลำพูน

ผู้แต่ง

  • นางสังวาลย์ ธนะแก้ว โรงพยาบาลลำพูน
  • ศศิธร พิชัยพงศ์ โรงพยาบาลลำพูน

คำสำคัญ:

แนวปฏิบัติในการป้องกันการเกิดแผลกดทับ

บทคัดย่อ

ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญในกลุ่มผู้ป่วยที่นอนนานได้แก่การเกิดแผลกดทับซึ่งเป็นภาวะแรกซ้อนที่สามารถป้องกันได้การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรมชายโรงพยาบาลลำพูน โดยใช้กรอบแนวคิดการพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกของNHMRC (1998) ประเทศออสเตรเลีย ที่แปลและประยุกต์โดยฉวีวรรณธงชัย (2548) มีทีมพัฒนาแนวปฏิบัติประกอบด้วยแพทย์ 1 ท่าน พยาบาล 5 ท่าน รวม6 ท่าน รวบรวมข้อมูลโดยใช้ 1) แบบสอบถามความเป็นไปได้ในการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิก 2)แบบสอบถามความคิดเห็นความสามารถในการปฏิบัตามแนวปฏิบัติทางคลินิกตรวจสอบความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติโดยทดลองใช้กับผู้ป่วยตามเกณฑ์ที่กำหนดวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาเปรียบเทียบอุบัติการณ์การเกิดแผลกดทับก่อนการพัฒนาแนวปฏิบัติและหลังพัฒนาแนวปฏิบัติโดยใช้สัดส่วน (proportion) และ Chi square test ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างผู้ทดลองใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกเห็นด้วยว่าแนวปฏิบัติง่ายต ใช้เห็นด้วยในระดับมากคิดเป็นร้อยละ80แนวปฏิบัติมีข้อเสนอแนะชัดเจนมีความเป็นไปได้ในการนำแวปฏิบัติ  ไปใช้ในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทแนวปฏิบติมีประสิทธิผลแก้ปัญหาการเกิดแผลกดทับใน หน่วยงานได้และมีความพึงพอใจในแนวปฏิบัติทางคกลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 90 การนำแนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับป้องการเกิดแผลกดทับใช้ในกลุ่มผู้รับบริการคัดเลือกตามเกณฑ์ที่กำหนด พบ ว่าสัดส่วนของการเกิดแผลกดทับน้อยกว่าก่อนพัฒนาแนวปฏิบัติคือก่อนการพัฒนาแนวปฏิบัติพบผู้ป่วยเกิด แผลกดทับคิดเป็นร้อยละ16.66 ของผู้ป่วยที่เฝ้าระวังทหลงพัฒนาแนวปฏิบัติพบผู้ป่วยเกิดแผลกดทับคิด้งหมด เป็นร้อยละ 1.79 ของผู้ป่วยที่เฝ้าระวังทั้งหมดทดสอบด้วยสถิติ Chi square พบว่าจำนวนผู้ป่วยที่เกิดแผลกด ทับก่อนและหลังใช้แนวปฏิบัติมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (p< 0ำคัญทางสถิติ.01) กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยและ ผู้ดูแลมีความพึงพอใจการพิทักษ์สิทธิและจริยธรรมการดูแลเพื่อป้องกันการเกิดแผลกระทับับมากคิดเป็น ร้อยละ100

References

กองการพยาบาล. แนวทางการวางแผนจาหน่ายผู้ป่วย. กรุงเทพฯ : 2539 คณะกรรมการคุณภาพการพยาบาลโรงพยาบาลลำพูนเอกสารควบคุมเรื่องการดูแลและป้องกันการเกิดแผลกดทับ.
2551

ฉวีวรรณธงชัย.การพัฒนาแนวปฏิบัติ.วารสารสภาพยาบาล2548; (สืบค้นเมื่อ15ตุลาคม2556); แหล่งข้อมูล:URL:http//www .tci-thaijo.org.

รุ่งนภาเขียวชอ อรพรรณ่ำ โตสิงห์ปรางทิพย์ฉายพุทธเกศรินทร์อุทริยะประสิทธิ์การพัฒนาแนวปฏิบัติ. การเตรียมความพร้อมส ำหรับญาติผู้ดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ(สืบค้นเมื่อ10:2554กันยายน2556); แหล่ง ข้อมูล:URL:http://www.ns.mahidol.ac.th/english/journal_NS/pdf/vol29/issue1/ Rungnapha.pdf

สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข.เครื่องมือการประเมิน คุณภาพแนวทางปฏิบัติส ำหรับการวิจัยและการประเมินผล(สืบค้นเมื่อ:25564มีนาคม2556); แหล่งข้อมูล: URL: http//wwwagreetrust.org/.

ศิริลักษณ์ศิริปัญญาวัฒน์และคณะ. ความชุกแผลกดทับฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลมหาราช.นครเชียงใหม2555:

ศศิธรพิชัยพงศ์วิเคราะห์สถานการณ์การป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยสูงอายุบาดเจ็บสมองที่ได้รับการผ่าตัด.หอผู้ป่วยศัลยกรรมชายโรงพยาบาล ล ำพูนวิทยานิพนธ์.พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่:2557

ศิริลักษณ์ ศิริปัญญวัฒน์.การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้เพื่อลดและป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง:2553(สืบค้นเมื่อ10ตุลาคม2556); แหล่งข้อมูลURL:http//www:.med.cmu.ac.th/hospital/ nis/km/cops/knowledge/.

Agency for Health care research and quality. Healthcare cost and utilization project: 2006 (cited 2013 March 02); Available from: URL: http//www.surgery.about.com.

Ayello. Predicting pressure ulcer risk: 2012. (cited 2013 March 02); Available from: URL http//www.consultgerirn.org.

Baharestani. Wound care essentials practice principle second Edition. London: 2008

Jaul and Efraim. Assessment and management of pressure ulcers in the elderly: 2008 (cited 2013 May 11); Available from: URL http//www. ncbi.nlm.nih.gov.

Jennifer Heisler. Definition of Neurosurgery: 2009 (cited 2013 November 02); Available from: URL http//www.surgery.about.com.

Shoemake and Kathlean. Pressure ulcer in the surgical patient:2007 (cited 2013 July 18 ); Available from: URL http//www.kcheaithcare.com/

The Joint Commission on Accreditation of Healthcare Organization: JCAHO.Fact about pain management: 2001. (cited 2013 March 10); Available from: URL http//www.jointcommission.0rg/.

The National Pressure Ulcer Advisory Panel. Pressure ulcer Advisory Panel: 2009 (cited 2013 March 02); Available from: URL http//www. npuap.org.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-01-29

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป