การพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ ในผู้ป่วยที่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะในโรงพยาบาลลำพูน
คำสำคัญ:
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ, การคาสายสวนปัสสาวะ, แนวปฏิบัติทางการพยาบาลใน การป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ, โรงพยาบาลลำพูนบทคัดย่อ
การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะเป็นการติดเชื้อที่พบบ่อยเป็นสามอันดับแรกของการติดเชื้อในโรงพยาบาลและในหอผู้ป่วย ผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่เข้ามารับรักษา ในโรงพยาบาลมักจะได้รับการรักษาโดยการใส่สายสวนปัสสาวะ ร้อยละ 80 การวิจัยเชิงพัฒนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและดำเนินการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ ในผู้ป่วยที่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงาน ในหอผู้ป่วยที่รับผู้ป่วยที่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะ จำนวน 8 หอผู้ป่วย ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 198 คน ผู้ช่วยเหลือคนไข้ จำนวน 49 คน การพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการศึกษานี้ใช้แนวคิด PRECEDE-PROCEED Model 3 ระยะ ได้แก่ระยะพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาล ระยะดำเนินการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาล และการประเมินผลลัพธ์ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดความรู้แบบบันทึกการสังเกตการปฏิบัติ แบบเฝ้าระวังการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ และแบบวัดระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน มีค่าดัชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.93, 0.91, 0.92 และ 0.94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาล ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ของบุคลากรสุขภาพเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภายหลังจากการส่งเสริมการปฏิบัติ (p < 0.001) สำหรับการปฏิบัติของบุคลากรสุขภาพ พบว่า การปฏิบัติหลังได้รับการส่งเสริม เพิ่มขึ้นในทุกกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001) Catheter associated urinary tract infection (CAUTI) ลดลงจาก 3.99 ครั้ง ต่อพันวันคาสาย สวนปัสสาวะ เหลือ 1.54 ครั้งต่อพันวันคาสายสวนปัสสาวะ (p < 0.001) การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการส่งเสริมการใช้แนวทางปฏิบัติทางการพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะช่วยลดการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
References
ขวัญตา กล้าการนา. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรู้และการปฏิบัติของพยาบาลต่อการควบคุม การแพร่กระจายเชื้อสแตฟฟิ โลค็อกคัสออเรียสที่ดื้อต่อยาเมธิซิลิน ในหอผู้ป่วยหนัก. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล ด้านการควบคุมการติดเชื้อ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2550.
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล โรงพยาบาลสงฆ์. การปฏิบัติการพยาบาล เพื่อป้องกันการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยคาสายสวนปัสสาวะโดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ หอผู้ป่วยศัลยกรรมทั่วไปและศัลยกรรมทางเดินปัสสาวะ โรงพยาบาลสงฆ.์ กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลสงฆ์, 2553.
งานควบคุมโรคติดเชื้อโรงพยาบาลลำพูน. สรุปรายงานการเจ็บป่วยเจ้าหน้าที่ประจำปี พ.ศ.2555.
งานการพยาบาลด้านการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล, โรงพยาบาลลาพูน; 2556.
จริยา พันธุ์วิทยากูล. ผลการให้ข้อมูลย้อนกลับและความรู้ต่อการใช้อุปกรณ์ป้องกันของพยาบาล. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลด้านการควบคุมการติดเชื้อ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2543.
จีระศักดิ์ เจริญพันธ์ และเฉลิมพล ตันสกุล. พฤติกรรมสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. มหาสารคาม: คลังนานาวิทยา; 2549: 71-80.
พิมพา ปันตั๋น. ผลการให้ความรู้และการให้ข้อมูลย้อนกลับต่อการปฏิบัติของบุคลากรพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลของระบบทางเดินปัสสาวะ. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลด้านการควบคุมการติดเชื้อ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2547.
พูนทรัพย ์ โสภารัตน์. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะ. พิมพ์ครั้งที่ 3. เชียงใหม่: โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2548.
ไพทูรย ์ บุญมา, อภิญญา ไทยวงศา และบราลี หาญกล้า. พัฒนาการดูแลผู้ป่วยลดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการใส่สายสวนปัสสาวะ. จุลสารชมรมควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแห่งประเทศไทย 2547; 4(2): 4–9.
เพ็ญนภา พร้อมเพรียง. ผลของการส่งเสริมการปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ในการป้องกันการติดเชื้อต่อความรู้ การปฏิบัติของพยาบาล และอุบัติการณ์การติดเชื้อจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดาส่วนปลายใน โรงพยาบาลชุมชน. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลด้านการควบคุมการติดเชื้อ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2551.
เยาวมาลย ์ เหลืองอร่าม. ผลของการอบรม การให้ข้อมูลย้อนกลับ และการสนับสนุนชุดเจาะเลือดต่อความรู้ของพยาบาลและอัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลชีพในเลือดที่ส่งตรวจเพาะเชื้อ. วิทยานิพนธ์
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลด้านการควบคุมการติดเชื้อ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2551.
รัชนีกร หาแก้ว. ศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการทำความสะอาดมือ ต่อความรู้และการปฏิบัติของพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลด้านการควบคุมการติดเชื้อ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2550.
วิลาวัณย ์ พิเชียรเสถียร และสมหวัง ด่านชัยวิจิตร. การพัฒนาการทำความสะอาดมือของบุคลากรพยาบาลในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย. จุลสารชมรมควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแห่งประเทศไทย 2548; 15(3): 28-44.
วสันต์ ศิลปะสุวรรณ และพิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ. การวางแผนการประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพ: ทฤษฎีการพยาบาล. กรุงเทพฯ: คณะสาธารณสุขศาสตรมหาวิทยาลัยมหิดล; 2541.
Bero LA., Grilli R., Grimshaw JM., Harvey E., Oxman AD., & Ann M. Getting research findings into practice: Closing the gap between research and practice: an overview of
systematic reviews of intervention to promote the implementation of research finding. British Medical Journal 1998; 317(15): 465-68.
Catherine S. Target: Catheter-Associated Urinary tract Infection (CAUTI). 2009. Available From: http//www.medline.com. Centers for Disease Control and Prevention [CDC], 2009.
Guideline for Prevention of Catheter-associated Urinary Tract Infections, 2009. Available from: http:// www.cdc.gov/ hicpac/cauti/001_cauti.html.
Clech C, Schwebel C, Franais A, et al. Does Catheter Associated Urinary Tract Infection Increase Mortality in Critically Ill Patients. Infection Control and Hospital Epidemiology 2007; 28(12): 1367-73.
Creedon S.A. Healthcare workers’ hand decontamination practices: Compliance with recommended guidelines. Journal of Advance Nursing 2005; 51(3): 208-216.
Crouzet J., Bertrand X., Venier AG., Badoz, M., Husson, C., & Talon, D. Control of the urinary catheterization: impact on catheterassociated urinary. Journal of Hospital
Infection 2007; 67: 253-7.
Duerink DO, Farda H., Nagelkerkr NJD, et al. Preventing nosocomial infections: improving compliance with standard precautions in an Indonesian teaching hospital. Journal of Hospital Infection 2006; 64: 36-43.
Getliffe K, & Newton T. Catheter-associated urinary tract infection in primary and community health care. Age Ageing 2006; 35(5); 477-81.
Gould DJ., Hewitt-taylor J, Drey NS, Gammom J, Chudleight J, & Weinberg JR. The clean your hands campaign: Critiquing policy and evidence base. Journal of Hospital Infection 2007; 65: 95-101.
Green LW, & Kreuter MW. Health promotion planning an educational and environmental approach (2nded.). London: Mayfield; 1991.
Green L. W., & Kreuter M. W. Health promotion planning an educational and ecological approach (4nd ed). New York: McGraw Hill; 2005.
Ha, U-S. & Cho, Y.-H. Catheter-associated urinary tract infections: new aspects of novelurinary catheters. International Journal of Antimicrobial Agents 2006; 28: 485-490.
Hakvoort RA, Elberink R., Vollebregt A., Van der Ploeg T, & Emanuel MH. Early catheterremoval after vaginal prolepse surgery reduced urinary tract infection and days in
hospital. Evidence-based Obstetrics and Gynecology 2004; 7: 828-30.
Hidron, Alicia I, Edwards, et al. NHSN Annual Update: Antimicrobial Resistant Pathogens Associated With Healthcare Associated Infections: Annual Summary of Data Reported to the National Healthcare Safety Network at the Centers for Disease Control and Prevention, 2006-2007. Infection Control and Hospital Epidemiology 2008; 29(11): 996-1011.
Jenner EA., Jones F, Fletcher BC., Miller L, & Scott GM. Hand hygiene poster: Motivators ormixed messages. Jounal of Hospital Infection 2005; 60: 218-25.
Lyytikainen O, Kanerva M, Agthe N, Mttnen T, & Ruutu P. Healthcare-associated infections in Finnish acute care hospitals: a national prevalence survey 2005. Journal of Hospital Infection 2008; 69(3): 288-94.
Madani N, Rosenthal D, Dendane T, Abidi K, Zeggwagh A. & Abouqal R. Health-care associated infections rates, length of stay, and bacterial resistance in an intensive
care unit of Morocco: findings of the International Nosocomial Infection Control Consortium (INICC) 2009. Available from: http://www.intarchmed.com/content/2/1/29
Naikoba S, & Hayward A. The effectiveness of interventions aimed at increasing hand washing in healthcare workers - A systematic review. Journal of Hospital Infection 2001; 47: 173-180.
National Institute of Clinical Studies [NICS.]. Adopting best evidence in practice. The Medical Journal of Australia 2004; 180(6): 41-72.
Puri J. Catheter Associated Urinary Tract Infections in Neurology and Neurosurgical Units. Journal of Infection, (2002); 44: 171-75.
Rabkin DG, Stifelman MD, Birkhoff J, et al. Early catheter removal decreases incidence of urinary tract infections in renal transplant recipients. Transplant Proc 1998; 30(8):
4314-6.
Randle, J., Clarke, M., & Storr, J. Hand hygiene compliance in healthcare workers.Journal of Hospital Infection 2006; 64: 205-9.
Rosenthal VD, Maki DG., Metha A, et al. International Nosocomial Infection Control Consortium report, data summary for 2002-2007, issued January 2008. American Journal of Infection Control. 2008;1-11.
Talaat M, Hafez S, Saied T, Elfeky R, El-Shoubary W, Pimentel G. Surveillance of catheter-associated urinary tract infection in 4 intensive care units at Alexandria university
hospitals in Egypt. Am J Infect Control 2010; 38(3): 222-8.
Tsuchida T, Makimoto K, Ohsako S et al. Relationship between catheter care and catheter associated urinary tract infection at Japanese general hospitals: a prospective
observational study. Int J Nurs Stud 2008; 45(3): 352-61.
Wagenlehner FM, Loibl E, Vogel H, Naber KG. Incidence of nosocomial urinary tract infections on a surgical intensive care unit and implications for management. Int J Antimicrob Agents 2006; S86-90.