การปฏิบัติของผู้ดูแลเด็กในการปองกันโรคมือเท้าและปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจังหวัดลําพูน

ผู้แต่ง

  • ละมัย สิทธิโรจน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดลําพูน

คำสำคัญ:

ผูดูแลเด็ก, โรคมือเทาและปาก, ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

บทคัดย่อ

โรคมือเทาและปากเปนโรคที่มีการติดตองาย โดยเฉพาะเด็กที่อยูในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งเปนสถานที่รับเลี้ยงเด็กเล็กจํานวนมาก การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการปฏิบัติของผูดูแลเด็กในการปองกันโรคมือเทาและปากในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดลําพูน ประชากรที่ใชในการศึกษาเปนผูดูแลเด็กในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก สังกัด องคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน 180 คน เก็บขอมูลระหวางเดือนมิถุนายน ถึงสิงหาคม 2552 เครื่องมือที่ใชคือ แบบสอบถาม วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา ดวยการแจกแจงความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

ผลการศึกษาพบวา การปฏิบัติของผูดูแลเด็กในการปองกันโรคมือเทาและปากโดยรวม อยูในระดับสูง คะแนน คาเฉลี่ยเทากับ 3.62 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.32 เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา การปฏิบัติดานอนามัย สวนบุคคลของผูดูแลเด็ก ดานการดูแลเด็ก ดานการดูแลสิ่งแวดลอมในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก อยูในระดับสูงเชนกัน มีคะแนน คาเฉลี่ยเทากับ 3.65, 3.61 และ 3.61 ตามลําดับ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   เทากับ 0.29, 0.33 และ 0.44 ตามลําดับ ผลการศึกษาจะเปนแนวทางในการนําไปพัฒนาศักยภาพของผูดูแลเด็กและสงเสริมทักษะการปฏิบัติที่ถูกตองในการปองกันโรคมือเทาและปากในศูนยพัฒนาเด็กเล็กใหมีประสิทธิภาพตอไป

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการปฏิบัติงานโรคมือเทาปากและโรคติดเชื้อเอนเทอโร ไวรัส 71 สําหรับบุคลากรการแพทยและสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตร แหง ประเทศไทยจํากัด. 2550.

กลุมสนับสนุนวิชาการ งานควบคุมโรคติดตอและระบาดวิทยา. รายงานการเฝาระวังทางระบาดวิทยา ประจําป 2551. ลําพูน: สํานักสาธารณสุขจังหวัดลําพูน. 2551.

ธนินทร เวชชาภินันทร. ระบาดวิทยาและลักษณะ อาการทางคลินิกของโรคมือเทาและปากที่เกิดจากการ ติดเชื้อเอนเทอโรไวรัส 71 ในสถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี. วิทยานิพนธสถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี. 2545.

พิมพผกา นิศาวัฒนานันท และคณะ. รายงานการสอบสวนทางระบาดวิทยาของโรคมือเทาและปาก จังหวัดลําปาง. ลําปาง: สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดลําปาง. 2550.

ศรีพรหม กาสกุล. การสอบสวนการระบาดและควบคุมปองกันโรคมือเทาและปาก บานแมสะปวด หมูที่ 2 ตําบลทาสบเสา อําเภอแมทา จังหวัดลําพูน ระหวางวันที่ 30 พฤษภาคม- 21 มิถุนายน 2544. รายงานวิจัย. ลําพูน: สํานักงานสาธารณสุขอําเภอแมทา จังหวัดลําพูน. 2544

ศรีสอางค บุญพระและณิชาภา ตรีชัยศรี. รายงานการสอบสวนการระบาดของโรคมือเท้าและปาก สถานรับ เลี้ยงเด็กกอนวัยเรียนแหงหนึ่งในอําเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ระหวางวันที่ 15- 17 ธันวาคม พ.ศ. 2546. รายงานวิจัย. สระบุรี: สํานักงานปองกันควบคุมโรค ที่ 2 จังหวัดสระบุรี. 25467.

สุชาดา คําหงษา. การติดเชื้อและปจจัยที่เกี่ยวของกับการติดเชื้อในเด็กที่ศูนยพัฒนาเด็กดอนแกว จังหวัด เชียงใหม. วิทยานิพนธพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2540.

สํานักระบาดวิทยา. กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข. สถานการณและรายงานการสอบสวนทาง ระบาดวิทยาของโรคมือเทาและปาก. โรงพิมพองคการ สงเคราะหทหารผานศึก. 2550.

สํานักระบาดวิทยา. กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข. สถานการณและรายงานการสอบสวน ทางระบาดวิทยาของโรคมือเทาและปาก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก. 2551.

อําพัน ไชยงําเมือง. การปฏิบัติในการปองกันโรคมือ เทาและปากของผูดูแลเด็กในศูนยพัฒนาเด็กเล็กอําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. การคนควาแบบอิสระ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2552.

Peter C. Mcminn. An overview of the evolution of enterovirus 71 and its clinical and public health significance. FEMS Microbiology Reviews 2002; 26: 91-107.

Singapore Government Media Release(4 & 5 October 2000).

World Health Organization. 1997. Outbreak of hand, foot and mouth disease in sarawak. Cluster of deaths among infants and young children. Wkly. Epidemiol Rec. 72, 211-2.

World Health Organization Fact Sheet No 174, June 1998.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-05-21

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป