การป้องกันเพื่อส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีในโรงพยาบาลเวียงป่าเป้าจงหวัดเชียงราย

ผู้แต่ง

  • อุบลศรี หาญเจริญกิจ โรงพยาบาลเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
  • วิไลพร จินดาวงค โรงพยาบาลเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
  • ราตรี ชัยวรรณะ โรงพยาบาลเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย

คำสำคัญ:

การปองกันเพื่อสงเสริมสุขภาพ, ผูติดเชื้อเอชไอวี

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้ใชรูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ในการดําเนินโครงการปองกันเพื่อสงเสริมสุขภาพ กลุมผูติดเชื้อเอชไอวีในโรงพยาบาลเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงระบบการจัดบริการปองกันเพื่อสงเสริมสุขภาพกลุมผูติดเชื้อเอชไอวีและผลลัพธของการใชกลยุทธในการปองกันเพื่อสง เสริมสุขภาพในกลุมผูติดเชื้อเอชไอวีที่มารับบริการในโรงพยาบาลเวียงปาเปาจงหวัดเชียงราย เก็บรวบรวม     ขอมูลจากแบบรายงานสรุปรายงานผล การดําเนินโครงการและแบบบันทึกขอมูลผูมารับบริการและแบบติดตามผลในกลุมตัวอยางจํานวน 90 รายผลการศึกษา พบวา 1) ระบบการจัดบริการปองกันเพื่อสงเสริมสุขภาพกลุมผูติดเชื้อเอชไอวีของโรงพยาบาลเวียงปาเปา ใชรูปแบบการ ใหบริการ ณ จุดเดียว (One stop service) ทําใหมีการจัดการไหลเวียนของบริการและการบันทึกติดตามผูรับบริการชัดเจน 2) ผลลัพธของการใชกลยุทธในการปองกันเพื่อสงเสริมสุขภาพในกลุมผูติดเชื้อเอชไอวีพบวากลุมตัวอยางรอยละ 90 ไดรับ 6    กลยุทธครบถวน โดยสวนใหญรอยละ 95 ไดรับจากพยาบาล ภายหลังจากการเขารวมโครงการพบวาอัตราการไมใชถุงยางอนามัยของกลุมตัวอยางลดลง จากรอยละ 10.2 เหลือรอยละ 3.9 อัตราการใชถุงยางอนามัยสม่ำเสมอรอยละ 98.0 ในดานการเปดเผยสถานการติดเชื้อใหกับคูนอน พบวารอยละ 98.0 มีการเปดเผยสถานะการติดเชื้อใหกับคูนอนไดรับทราบ ดานการรักษาดวยยาตานไวรัส กลุมตัวอยาง มีอัตราการกินยา      ตอเนื่องสม่ำเสมอถึงรอยละ 98.6 ดานการใหคําปรึกษาเรื่องวางแผนครอบครัวในการมารับบริการครั้งแรก  กลุมตัวอยางไมมีการวางแผนตั้งครรภถึงรอยละ 98.8 และ พบ 3 คน ที่ตั้งครรภโดยไมวางแผน โดยสวนใหญใชวิธีการคุมกําเนิดโดยการใชถุงยางอนามัยผูวิจัยเห็นวารูปแบบของ การจัดระบบการจัดบริการปองกันเพื่อ   สงเสริมสุขภาพกลุมผูติดเชื้อเอชไอวีของโรงพยาบาลเวียงปาเปา สามารถนําไปขยายผลได โดยควรมีการทบทวนงานประชุม และติดตามผลการดําเนินงานเปนระยะๆ เพื่อเนนความสําคัญและมั่นใจ วาทีมงานมีความรูความเขาใจที่ถูกตอง มีการทบทวนชี้แจงงานใหกับเจาหนาที่ที่เขามารวมงานใหมเสมอการออกแบบ ระบบบริการที่ดีจะทําใหมีการใชกลยุทธ 6 ดาน สงผลทําใหผูติดเชื้อเอชไอวีและคูผลเลือดตางตระหนักถึงความสําคัญใน การปองกันตนเอง นําไปสูการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีและปลอดภัยมากขึ้น ทั้งนี้หนวยงาน  ตองมีความพรอมในดานทีมงาน การจัดระบบที่ชัดเจน และสามารถบูรณาการใหเขากับงานประจํา

References

อัจฉรา เชาวะวณิช, รังสิมาโลหเลขา, ปรีชา ตันธนาธิป และคณะ. พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศและการติดเชื้อ โรคติดตอทางเพศสัมพันธในผูติดเชื้อเอชไอวีในสถาบันบําราศนราดูร. วารสารกรมควบคุมโรค. 2550.

สํานักโรคเอดสวัณโรคและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการ จัดบริการการปองกันเพื่อสงเสริมสุขภาพผูติดเชื้อเอชไอวีในสถานบริการสุขภาพ. พิมพครั้งที่ 1. โรงพิมพชุมนุม สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจํากัด. 2551.

ศันสนียสมิตตะเกษตรริน และคณะ. การศึกษาการ ใหบริการดูแลรักษาผูปวยติดเชื้อเอชไอวียาตานไวรัส ภายหลังเขาสูระบบประกันสุขภาพ 4 เดือน. วารสารโรคเอดส 2552; 22(1), 31-47.

ศักดิ์ชัย ไชยมหาพฤกษ. (2553). การปองกันการติดเชื้อเอชไอวีโดยผูติดเชื้อเอชไอวี: มุมมองของผูใหบริการ ทางดานสุขภาพ. (อางอิง 20 ธ.ค.2553) (Online Available for https://dpea.ddc.moph.go. th/crd/technical.html.).

ศักดิ์ชัย ไชยมหาพฤกษและสุจิตรา ชื่นวิทยา. (2553). พฤติกรรมการปองกันการถายทอดเชื้อเอชไอวีและการเปดเผยผลเลือดในผูติดเชื้อเอชไอวี. (อางอิง 20 ธ.ค. 2553) (Online Available for https://dpea.ddc. moph.go.th /crd/technical.html.).

CDC. Incorporating HIV prevention into the medical care of persons living with HIV. Recommendations of CDC, the Health Resources and Services Adminis tration, the
National Institutes of Health, and the HIV Medicine Association of the Infectious.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-05-21

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป