การนํานโยบายโรคไข้หวัดนกไปปฏิบัติในพื้นที่ระบาดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ผู้แต่ง

  • สุรีรัตน โบจรัส มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

การนํานโยบายไปปฏิบัติ, นโยบายโรคไขหวัดนก

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการนํานโยบายโรคไขหวัดนกไปปฏิบัติและหาแนวทางปรับปรุงการนํานโยบายโรคไขหวัดนกไปปฏิบัติในพื้นที่ระบาดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจังหวัดมุกดาหาร นครพนม ขอนแกน และหนองคาย ศึกษาจากกลุมตัวอยาง 3 กลุม คือ กลุมผูบริหารหรือหัวหนาหนวยงานที่นํานโยบายไปปฏิบัติเก็บขอมูลใชวิธีสัมภาษณเชิงลึก กลุมเจาหนาที่ที่นํานโยบายไปปฏิบัติและประชาชนที่ไดรับผลลัพธ จากการนํานโยบายไปปฏิบัติใชวิธีสนทนากลุมวิเคราะห    ขอมูลโดยการวิเคราะหเนื้อหา ผลการศึกษาพบวา

  1. ปจจัยที่ทีผลตอการนํานโยบายโรคไขหวัดนกไปปฏิบัติมีปจจัย 5 ดาน ดังนี้ 1) เปาหมายและวัตถุประสงคของนโยบาย 2) การกําหนดภารกิจและการมอบหมายงาน 3) ลักษณะหนวยงานที่นํานโยบายไปปฏิบัติ 4) การสนับสนุนจากสวนกลางและทองถิ่น 5) มาตรการควบคุมประเมินผลและกระตุนสงเสริมเมื่อนํานโยบายไปปฏิบัติพบปญหา ดังนี้ 1) นโยบายไมชัดเจน 2) งบประมาณ วัสดุอุปกรณไมเพียงพอ 3) การประเมินผลไมจริงจังและตอเนื่อง 4) เจาหนาที่ขาดขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานและ 5) เจาหนาที่และประชาชนขาดความตระหนักและองคความรูเกี่ยวกับโรคไขหวัดนก
  2. แนวทางปรับปรุงการนํานโยบายโรคไขหวัดนกไปปฏิบัติมีดังนี้ 1) ควรจัดสรรงบประมาณและวัสดุใหเพียงพอ 2) มีกิจกรรมเฝาระวังควบคุมโรคไขหวัดนกอยางตอเนื่อง 3) ติดตามและประเมินผลสม่ำเสมอ ตอเนื่อง 4) มีแนวทางการปฏิบัติที่ตอบสนองตอสถานการณการระบาดโรคไขหวัดนกในพื้นที่รับผิดชอบ 5) ประชุมปรึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันของผูนํานโยบายไปปฏิบัติหรือประชาชนในพื้นที่เพื่อปรับปรุงแนวทางปฏิบัติอยางสม่ำเสมอ

ขอเสนอแนะ: แนวทางการแกปญหาโรคไขหวัดนกมีดังนี้ 1) สรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับโรคไขหวัดนก 2) สรางความเขาใจมาตรการของรัฐ 3) สรางการยอมรับในตัวเจาหนาที่ 4) สรางความเปนพวกพองลดชองวางสรางสํานึกและความมีสวนรวม 5) สรางความตอเนื่องดวยการสรางงานประจําพื้นที่และสรางแรงจูงใจในการทํางานของเครือขาย การเฝาระวังโรคไขหวัดนก

References

Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nation. Background of Avian Inflenza. [online] 2007 Retrieved June 16,2007, from https:// www.fao.org/avianflu//en/background.html.

สมภพ ศิริมงคลรัตน, พรพิรุณ ชินสอน. การวิเคราะหการระบาดของโรคไขหวัดนกในประเทศไทย: รวมผลงานวิชาการที่สําคัญประจําป 2549 เลมที่ 1 กรมปศุสัตว [ออนไลน] 2549 [อางเมื่อ 20 ตุลาคม 2550] จาก https:// www.dld.go.th/home/bird-flu/menu-detail.html.

สุดารัตนดํารงวัฒนโภคิณ. การสํารวจไขหวัดนกในสัตวปกชนิดตาง ๆ ในพื้นที่ที่มีการระบาดซ้ำซาก. รายงานการประชุมไขหวัดนกประจําป 2548. วันที่ 27-28 ธันวาคม 2548 ณ.โรงแรมรามาการเดนส. กรุงเทพฯ [ออนไลน] 2548 [อางเมื่อ 21 ตุลาคม 2550] จาก https://www.biotec.orth.

Office International des Epizootic (OIE). Highly pathogenic avian influenza. [online] 2007 Retrieved October 13, 2007, form https://www.OIE.int.

ศูนยควบคุมโรคไขหวัดนก. การควบคุมโรคไขหวัดนกในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ การเกษตรแหงประเทศไทยจํากัด. 2549.

กรมควบคุมโรค. การเฝาระวังโรคไขหวัดนก (Avian Influenza) ในคนและมาตรการการควบคุมโรค. กรุงเทพฯ: องคการรับสงสินคาและวัสดุภัณฑ. 2548.

ศูนยควบคุมโรคไขหวัดนก. การควบคุมโรคไขหวัดนกใน ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจํากัด. 2551

พีรสิทธิ์คํานวณศิลป. การบริหารจัดการโครงการพัฒนา สังคมแบบกาวหนา. ขอนแกน: โรงพิมพพระธรรมขันต. 2543.

อรพันธ ภาสวรกุล. โรคไวรัสอินฟลูเอนซาในสัตวและความสําคัญดานการสาธารณสุข. รายงานการเฝาระวังทางระบาดวิทยา (ฉบับพิเศษ) 2548; 11(1): 15.

วิษณุกร ออนประสงค, สุวัฒนา ออนประสงค. การประเมินความพรอมของการเฝาระวัง ปองกันและควบคุมโรคไขหวัดนก อําเภอหวยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ ป 2548. วารสารสํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแกน 2549; 13(3): 54.

มรกต ตันติเจริญ, นําชัย ชีววิวรรธน. ไขหวัดนกโรคอุบัติ ใหมบนโลกใบเกา. ปทุมธานี. ศูนยพันธุวิศกรและ เทคโนโลยีแห่งชาติ. 2548.

กระทรวงสาธารณสุข. แผนยุทธศาสตรแกไขปญหา ไขหวัดนกและแผนยุทธศาสตรเตรียมความพรอมใน การปองกันและแกปญหาการระบาดใหญของไขหวัด ใหญ พ.ศ. 2548 - 2550. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจํากัด. 2548.

กองสุขศึกษา. กระทรวงสาธารณสุข. ผลการพัฒนา ระบบเฝาระวังพฤติกรรมสุขภาพการปองกันโรคไขหวัดนก. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทยจํากัด. 2550.

ถนอม นอยหมอ, ฉันทนี บูรณะไทย. การวิเคราะหขอมูลสถานการณไขหวัดนกในประเทศไทยตอนที่ 2: สถานการณภาคปศุสัตว (มกราคม 2547 – มิถุนายน 2548). สํานักควบคุมปองกันและบําบัดโรคสัตวกรมปศุสัตว์. 2548.

กระทรวงสาธารณสุข. แผนยุทธศาสตรการปองกันแกไขและเตรียมพรอมรับปญหาไขหวัดนกและการ ระบาดใหญของไขหวัดใหญ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2553). กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุม สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจํากัด. 2551.

กรมปศุสัตว. โรคไขหวัดนก. [ออนไลน] 8 เมษายน 2553 [อางเมื่อ 20 เมษายน 2553] จากhttps://www.did. go.th/home/bird/_flu.html

วิเชียร วิทยาอุดม. ทฤษฏีองคการ. พิมพครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ. ธีระพิมพและไซเทกซจํากัด. 2549.

ทศพร สิริสัมพันธ. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการบริหารราชการแนวใหม. กรุงเทพฯ. สํานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. 2549

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-05-21

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป