การประเมินกระบวนการพัฒนางานสุขศีกษาตามมาตรฐานงานสุขศึกษาของบุคลากร ในสถานบริการสาธารณสุข จังหวัดลําพูน

ผู้แต่ง

  • พวงผกา สุริวรรณ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดลําพูน
  • ปยบุตร เฉลิมวงศ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดลําพูน

คำสำคัญ:

มาตรฐานงานสุขศึกษา, หนวยบริการสุขภาพ

บทคัดย่อ

การศึกษากระบวนการพัฒนางานสุขศึกษาตามมาตรฐานงานสุขศึกษา มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินความรูในกระบวนการดําเนินงานสุขศึกษาตามมาตรฐานงานสุขศึกษาและประเมินความพึงพอใจในการพัฒนางานสุขศึกษาตามแนวทางการดําเนินงานมาตรฐานงานสุขศึกษา ประยุกตใชรูปแบบการวิจัยเชิงสํารวจในการดําเนินการประเมิน กลุมตัวอยางเปนเจาหนาที่สาธารณสุขที่รับผิดชอบงานสุขศึกษาของสถานบริการสาธารณสุข สังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ สุมเลือกกลุมตัวอยางจากสถานบริการสาธารณสุขที่เคยผานการตรวจประเมินมาตรฐานงานสุขศึกษารวบรวมขอมูล ปริมาณและคุณภาพ โดยใชแบบสอบถามและแบบสัมภาษณทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติคารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบวา ผูรับผิดชอบงานสุขศึกษาของสถานบริการสาธารณสุขประมาณ รอยละ 54.80 เปนเพศหญิง อายุเฉลี่ย 41 ป     สวนใหญจบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาสาธารณสุขศาสตร รอยละ 38.09 รองลงมา จบการศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต รอยละ 16.66 สวนใหญรับผิดชอบงานสุขศึกษามาโดยเฉลี่ย 2 ป สวนมากมีความรู เกี่ยวกับงานสุขศึกษาในระดับพอใชรอยละ 90.47 (x̄ =8.70, S.D.=2.13) การพัฒนางานสุขศึกษาตามมาตรฐานงานสุขศึกษา 9 องคประกอบ สวนใหญดําเนินการตามคูมือหรือแนวทางการดําเนินงานมาตรฐานงานสุขศึกษาของกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผูรับผิดชอบงานสุขศึกษาสวนใหญมีความพึงพอใจตอเอกสาร/คูมือแนวทางการพัฒนางาน สุขศึกษาตามมาตรฐานงานสุขศึกษาในระดับมากรอยละ 53.60  (x̄ =3.50, S.D.=0.70) ความพึงพอใจตอการสนับสนุน สงเสริมการพัฒนางานสุขศึกษาตามมาตรฐานงาน     สุขศึกษาในระดับมากรอยละ 39.30 (x̄ =3.14, S.D.=0.90) และความพึงพอใจตอกระบวนการพัฒนาคุณภาพงานสุขศึกษาของหนวยงาน ตามองคประกอบ 9 องคประกอบ อยูในระดับปานกลาง รอยละ 44.0 (x̄ =3.90, S.D.=0.83) เชนเดียวกัน ขอเสนอแนะ กองสุขศึกษาหรือสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดควรมีการ อบรมเรื่องการดําเนินงานสุขศึกษาใหแกเจาหนาที่ที่รับผิดชอบงานอยางตอเนื่องทุกปและควรมีการปรับปรุงหรือพัฒนา คูมือการดําเนินงานตามมาตรฐานงานสุขศึกษาที่เหมาะสมสอดคลองกับระบบบริการสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไปและ เปนไปตามบริบทของพื้นที่ที่หนวยงานรับผิดชอบ

References

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กองสุขศึกษา, กระทรวงสาธารณสุข. การพัฒนามาตรฐาน งานสุขศึกษาของ สถานบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ ปงบประมาณ 2546. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตร, 2546. หนา 2.

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กองสุขศึกษา, กระทรวงสาธารณสุข. เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาการ ประเมินและรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา วันที่ 11 กรกฎาคม 2551 ณ โรงแรมริชมอนดจังหวัดนนทบุรี: 2551.

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กองสุขศึกษา, กระทรวงสาธารณสุข. ทําเนียบสถานบริการสาธารณสุขที่ไดรับ การรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา ปงบประมาณ2547-2550. กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการ สุขภาพ: 2550.

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กองสุขศึกษา, กระทรวงสาธารณสุข. ความคิดเห็นและความพึงพอใจตอ มาตรฐานงานสุขศึกษา. กองสุขศึกษากรมสนับสนุน บริการสุขภาพ, 2550. (เอกสารอัดสําเนา)

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กองสุขศึกษา, กระทรวง สาธารณสุข. เอกสารการประชุมสัมมนา เรื่องการ ประเมินรับรองมาตรฐานงานสุขศึกษา วันที่ 11 กรกฎาคม 2551 ณ โรงแรมริชมอนดจังหวัดนนทบุรี: 2550.

เพ็ญศรี เกิดนาค, สุดาพร ดํารงวานิช, และจารุณีชัย ชาญชีพ. “การพัฒนาระบบคุณภาพงานสุขศึกษาแบบ มีสวนรวมของสถานบริการสาธารณสุข”. ในรายงาน สรุปผลงานวิชาการกองสุขศึกษา ปงบประมาณ 2550. กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, นนทบุรี: 2551, หนา 135-45.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-05-21

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป