การรักษา Intertrochanteric fracture ในผู้สูงอายุด้วยการผ่าตัด Hemirathroplasty ของโรงพยาบาลฝาง

ผู้แต่ง

  • ศราวุธ กันสืบ โรงพยาบาลฝางจังหวัดเชียงใหม่

คำสำคัญ:

Intertrochanteric fracture, Hemiarthroplasty, Harris Hip Score

บทคัดย่อ

           Intertrochanteric fracture of femur เป็นกระดูกหักที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ การรักษามีทั้งการรักษาด้วยการ    ผ่าตัดและไม่ผ่าตัด การผ่าตัดนั้นประกอบไปด้วยวิธียึดตรึงด้วยโลหะ (Internal fixation) และการผ่าตัดเปลี่ยนข้อ (Hemiarthroplasty, Total arthroplasty) การผ่าตัดเปลี่ยนข้อในผู้ป่วย Intertrochanteric fracture of femur ไม่เป็นที่นิยม โดยมีการศึกษาก่อนหน้านี้ให้เหตุผลว่าเป็นการผ่าตัดใหญ่ มีการเสียเลือดมากเสี่ยงต่อการติดเชื้อและโอกาสเสียชีวิตสูง แต่ก็มีข้อดีคือผู้ป่วยสามารถเดินลงน้ำหนักได้เร็วกว่า งานวิจัยนี้จึงเป็นการศึกษาเกี่ยวกับผลของการรักษา Intertrochanteric fracture ในผู้สูงอายุด้วยการผ่าตัด hemiarthroplasty ของโรงพยาบาลฝางโดยเป็นการศึกษาย้อนหลัง เพื่อหา เวลาที่ผู้ป่วย สามารถยืนและเดินลงน้ำหนักได้การเสียเลือด เวลาในการผ่าตัด การประเมิน Harris Hip Score ผลที่ได้พบว่า มีผู้ป่วยที่ รักษาจํานวน 10 รายเป็นชาย 7 รายเป็นหญิง 3 รายอายุเฉลี่ย 72.6 ปีวันนอนโรงพยาบาลเฉลี่ย 11.4 วัน อัตราการสูญเสีย เลือดเฉลี่ยคือ 280 ซีซีระยะเวลาในการผ่าตัดเฉลี่ย 1 ชั่วโมง 21 นาทีระยะเวลาที่ผู้ป่วยสามารถยืนและเดินลงน้ำหนักได้ คือ 2.7 วัน การประเมินของ Harris Hip Score พบ 90% อยู่ในระดับ Excellent, Good และ Fair ดั้งนั้นจะพบว่าผลของการ รักษา Intertrochanteric fracture ด้วย Hemiarthroplasty ทั้ง เวลาที่ผู้ป่วยสามารถยืนและเดินลงน้ำหนักได้การประเมิน ด้วย Harris Hip Score ยืนยันว่าเป็นการรักษาอีกทางเลือกหนึ่งที่ได้ผล คําสําคัญ : Intertrochanteric fracture, Hemiarthroplasty, Harris Hip Score

References

Davis T, Sher JL, Horsman A. Intertrochanteric femural fractures, JBone Joint. 1990; vol72 B: 26–7.

Kenneth J, Koval and Robert V.Cantu. . Intertrochanteric femural fractures. In Robert W. Buholz et al editor. Rockwood and green’s fractures in adults. 6th ed, LWW. 2006;volume 2: 1793-826.

Bolhofner BR, Russo PR, Carmen B. Results of intertrochanteric femur fractures treated with a 135- degree sliding screw with a two-hole side plate.J Orthop Trauma 1999; 13: 5 – 8.

Albert JS, Compression hip screw nail, technique manual, Mempishs, Smith & Richards; 1998;1–15

Baumgaertner MR, Curtin SL, Lindskog DM. Intramedullary versus extramedullary fixation for the treatment of intertrochanteric hip fractures. Clin Orthop. 1998; 348: 87-94.

Peter A, Mohit Bhandari. What’s new in orthopaedic trauma, J Bone Joint. 2006; vol88 A: 2545–61.

Weon-Yoo Kim, Chang-Hwan Han, Jin-Il Park JinYoung Kim. Failure of intertrochanteric fracture fixation with a dynamic hip screw in relation to preoperative fracture stability and osteoporosis. International Orthopaedics (SICOT). 2001 25:360-362

Green S, Moore T, Proano F, Bipolar Prosthetic Replacement for the Management of Unstable Intertrochanteric Hip Fractures in the Elderly. International Orthopaedics; 2002; 26:233-37.

Kamel HK, Iqbal MA, Mogallapu R, Maas D, Hoffmann RG. Time to ambulation after hip fracture surgery: relation to hospitalization outcomes. J Gerontol A Biolo Sci Med Sci; 2003; vol. 58 1079-5006

Taskin A, Ahmet K, Hassan O, M Rifki US, Cetin S. Hemiarthroplasty for intertrochanteric fracture in elderly patients. Joint Diseases & Related Surgery; 1998; 9:22-27

M. Omer A, Osman R, Ahmet S, Zafer K. Primary hemiarthroplasty in the treatmet of intertrochanteric fracture fixation with straight stem endoprosthesis. Acta orhop traumatol; 1997; 31

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-04

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป