อุบัติการณ์และปัจจัยที่ผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ็อนที่จอประสาทตาผู้ป่วยเบาหวานที่ 2

ผู้แต่ง

  • ประจักษ์ สีลชาติ โรงพยาบาลม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

ภาวะแทรกซ้อนที่จบประสาทตาเบาหวานการตรวจคัดกรอง

บทคัดย่อ

             การวิจัยในรูปแบบเชิงพรรณนาย้อนหลังมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราของภาวะเบาหวานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สองอำเภอม่วงสามสิบจังหวัดอุบลราชธานีระหว่างตุลาคม 2549 ถึงเมษายน 2550 จำนวน 840 รายเก็บข้อมูลด้วยแบบบันทึกประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคลข้อมูลประวัติการเจ็บป่วยด้วยหรือเปล่าหวานผลภาวะแทรกซ้อนความสามารถในการมองเห็นและผลการตรวจวินิจฉัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิง พรรณนาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยโดยการวิเคราะห์ Chi-Square และการทดสอบ Multiple Logistic Regression ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

                   ผลการศึกษาพบว่าอัตราเกิดภาวะสอนเบาหวานขึ้นจอประสาทตาคิดเป็นร้อยละ 44 โดยแบ่งเป็น NPDR 385% PDR 5.5% ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาตามลำดับต่อไปนี้ภาวะความดันโลหิตสูงระยะเวลาที่เป็นโรคเบาหวานมากกว่า 5 ปีภาวะไตเรื้อรังระดับ 4.5ระดับน้ำตาลในเลือดที่ควบคุมได้ไม่ดี (FBS>180 mg%) ดัชนีมวลกายและโดยเฉพาะภาวะความดันโลหิตสูงคือปัจจัยที่มีความสัมพันธ์มากที่สุดต่อการเกิดโรคภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาส่วนปัจจัยที่ไม่มีความสัมพันธ์การเกิดภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตาได้แก่เพศอายุอาชีพระดับไขมันในเลือดและความสามารถในการมองเห็น

ดังนั้นการตรวจคัดกรองเพื่อวินิจฉัยรักษาตั้งแต่เริ่มแรกในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สองการตรวจคัดกรองจอประสาทตาทุกปีการควบคุมความดันโลหิตให้ปกติการลดภาวะไตเรื้อรังการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ได้ดีอย่างสม่ำเสมอการควบคุมน้ำหนักไม่ให้น้อยเกินไปน่าจะมีผลต่อการควบคุมการเกิดภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา

References

อติพร องค์สาธิต และคณ๋ะ, แนวทางเวชปฏิบัติการคัดกรองและการดูแลรักษาจอประสาทตาผิดปกติจากเบาหวาน, สำนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารรสุข. 2548; หน้า 1-20

Report of the second National Health Examination Survey in 1997. Thai Health Research Institute. Ministry of Public Health. Bangkok 2000.

ปราโมทย์ โรทิโตปการ. Diabertic Retinopathy .นโรงพยาบลหาดใหญ่ , จักษุสาธารณสุข 2541 ; มกราคม – มิถุนายนว 11-19

Thylefors B, Negrel A D, Pararajasegaram R, Dadizie K Y. Global data on.

Blindness, Bull world Health Organ 1995;73:115-121

วลัยพร ยติพูลสุข. โคงการตรวจคัดกรองภาวะเบาหวานขึ้นตอประสาทตจาในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดแพร่. จักษุเวชสาร 254; มรากคม – ธันวาคม : 15-25.

งามแข เรืองวรเวทย์. ภาวะแทรกซ้อนที่จอดและความาผิดปกติอื่นๆ ทางตาในผู้ป่วยเบาหวาน.. ในสุทิน ศรีอัษฏาพร, วรรณี นิธิยานันท์ รรณาธิการ. โรคเบาหวาน, กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์; 2546;390-405.

ธัญญา เชฏฐากุล, ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์. สมพงษ์ สุวรณาวลัยกร. ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท, ฉัตราประอร งามอุฆษ,เพชร รอดอารีย์ คและคณะ โครงการลงทะเบีนยผู้ป่วยยเบาหวานในประเทศไทย , ความชุกชุมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับเบาหวานจอประสาทตาในผู้ป่วยเหบาหวานชนิดที่ 2.J:Med Assoc Thai 2006:89(Suppl 1): s27-36

นฤมล หลักรัตน์. ความชุกและปัจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่จอประสาทตาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ 2. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7.2550; กรกฏาคม-กันยายนว 56-70

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-04

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป