การติดตามโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิ และศึกษาการติดเชื้อพยาธิใบไม้ลำใส้ขนาดเล็ก Haplorchis taichui ในอำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ภาคเหนือของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • อุดลย์ศักดิ์ วิจิตร สำนักงาป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
  • นิยม ศิริ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน
  • อดิศักดิ์ สุยะ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน

คำสำคัญ:

โครงการควบคุมโรคนั้นพยาธิพยาธิใบไม้ตับพยาธิใบไม้ลำไส้หรือขนาดเล็กการติดเชื้อพยาธิวิธีคาโด้

บทคัดย่อ

           การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามการดำเนินงานของการควบคุมโรคหนอนพยาธิการศึกษาการติดเชื้อพยาธิใบไม้ในประชาชนจังหวัดน่านระยะเวลาดำเนินการตั้งแต่เดือนกันยายนถึงตุลาคม 2552 วิธีการศึกษาติดตามการดำเนินงานที่สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสถานีอนามัยและสุ่มตัวอย่างหมู่บ้านในตำบลบอกเรือได้เพื่อศึกษาการติดเชื้อพยาธิใบไม้ในประชาชนจำนวน 50 รายที่รายงานผลการตรวจอุจจาระพบไข่พยาธิใบไม้ตับโดยวิธีการ kato’s thick smaer การศึกษาการติดเชื้อพยาธิใบไม้โดยการตรวจอุจจาระหาใครพยาธิซ้ำและแยกวิเคราะห์ชนิดพยาธิจากการดูลักษณะขายโดยวิธีkato’s thick smaer และ Formalin-ether concentration techniqu และตรวจวิเคราะห์อย่าใช้ตัวเต็มวัยหลังการรักษาด้วยวิธี Sedimentation

          ผลการตรวจอุจาระหาไข่พยาธิ ของอำเภอบ่อเกลือจังหวัดน่านในปีพ.ศ. 2552 ในกลุ่มศูนย์เด็กเล็กเด็กอายุ 2-4 ปีเด็กนักเรียนศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนและกลุ่มประชาชนทั่วไปจำนวนตรวจทั้งสิ้น 8348 รายอัตราความครอบคลุมประชากรเป้าหมายร้อยละ 17.45 พยา 2700 รายคิดเป็นร้อยละ 34.64 อัตราการติดเชื้อในแต่ละกลุ่มระหว่างร้อยละ 22.3-18.21 แยกชนิดขยะดังนี้พยาธิปากขอเฉลี่ยร้อยละ 4.9 (พิสัย 1.47 -22.90) พยาไส้เดือนร้อยละ 12.13 (พิสัย 5.76- 48.51) พยาธิแส้ม้าเฉลี่ยร้อยละ 5.22 (พิสัย 4.48 - 23.13) ใบไม้ในตับเฉลี่ยร้อยละ 11.38 (พิสัย0- 15.71) พยาธิตัวตืดเฉลี่ยร้อยละ 1.04พี่สาย (0- 7.46) พยาสตรองจิรอยด์เฉลี่ยร้อยละ 0.14 (พิสัย0- 3.19) พยาธิเข็มหมุดเฉลี่ยร้อยละ 0.16 (พิสัย 0-1.49) คนเดียวพบว่ายาหลายชนิดเฉลี่ยร้อยละ 2.73 (พิสัย 1.06-22.39) การศึกษาการติดเชื้อกลุ่มตัวอย่างประชาชนที่สุดโดยใช้ประหยัดใบไม้ตับจำนวน 50 ได้เก็บอุจาระมาทำการตรวจซ้ำด้วยกล้องจุลทรรศน์ธรรมดาโดยวิธีkato’s thick smaer ตรวจพบใครคล้ายพยาธิใบไม้ตับร้อยละ 100 (50/ 50) ตรวจวิธีFormalin-ether concentration techniqu พบไข่พยาธิใบไม้ลำไส้ขนาดเล็กร้อยละ 60 (30/ 50) ทั้งนี้ไม่ปลอดภัยพยาธิใบไม้ตับผลการตรวจด้วยการร่อนหาตัวเต็มวัยพยาธิในอุจจาระ ด้วยวิธี Sedimentation method หลังการให้ยาบำบัดจำนวน 50 รายไม่พบตัวพยาธิจำนวน 11 รายพบตัวเต็มวัยพยาธิจำนวน 35 รายแยกชิ้นได้ดังนี้พยาธิใบไม้ในลำไส้ขนาดเล็ก Haplorchos taichui ทั้งสิ้นจำนวน 37 รายร้อยละ 74 (37 / 50)จำนวนที่พบตัวเต็มวัยตั้งแต่ห้5- 1250 ตัวเฉลี่ย 62 ตัวต่อผลพยาธิตัวตืดรู้ว่าจำนวนเจ็ดรายและพยาธิเข็มหมุดจำนวน1ราย คนเดียวพบพยาธิ 2 ชนิด จำนวน 2 ราย

          การศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงอัตราการติดเชื้อโรคนอนพยาธิในแต่ละพื้นที่แตกต่างกันในอำเภอบ่อเกลือจังหวัดน่านการติดตามการดำเนินงานมีความสำคัญการควบคุมโรควันนั้นเพื่อนการแก้ไขต้องการเน้นในเรื่องการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมสุขวิทยาส่วนบุคคลกาจัดหาน้ำสะอาดและสุขาภิบาลในชุมชนข้อเสนอแนะโดยให้นักเรียนเป็นฐานการส่งเสริมสุขภาพการตรวจสุขภาพประจำปีและพิจารณาดำเนินการตามโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิอย่างต่อเนื่องและการรายงานผลการตรวจพบพยาธิใบไม้ตับโดยวิธี Kato’s ควรใช้ความระมัดระวังคนรายงานเป็นการพบพยาธิใบไม้ตับหรือพยาธิใบไม้ลำไส้ขนาดเล็กไว้ก่อนถ้าจำเป็นต้องยืนยันที่แยกชนิดขยะจากลักษณะใครที่มีความแตกต่างกันควรใช้วิธี วิธี Formalin-ether concentration technique จึงจะเหมาะสมกว่า

References

สมชาย จักรพันธุ์ สมชัย นิจพานิช โอภาส การย์ กวินพงศ์. โรคหนอนพยาธิในโคงการพระราชดำริ, เอกสารประกอบการจัดประชุมประสานแผนการดำเนินงาป้องกันคบคุมโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค วันที่ 27-28 กรกฏาคม 252 ณ โรงพแรมมิราเคิลแกรด์ กรุงเทพฯว เอกสารอัดสำเนา

Tesana S, Srisawangwonk T, Kaewkes S, Sithithawom P, Kanla P, Arunyanart c. eggshell morphology of ghe small eggs of human tratodes in Thailand Southeast AsianJTrop Med Public Health 1991; 22-631-6

Katro K, Miura M. one the comparison of mime stool examination methods. Jpn J parasitol. 1954;3:35.

Katz N, Chaves A, Pellegrino J. A simple device for quantitative stool thick-smear technique in schistosomiasis mansoni. Rev Inst Med Trop Sao Paulo 1972; 14: 397-400.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-04

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป