กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวมตำบลริมปัง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน
คำสำคัญ:
การมีส่วนร่วมของชุมชน, การดูแลสูงอายุแบบองค์รวมบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participation Action research : PAR) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวมในพื้นที่หมู่ที่ส4 บ้านศรีบังวันและหมู่ที่ 5 บ้านเจดีย์ขาวตำบลริมปิง อำเภอเมืองจังหวัดลำพูน กลุ่มเป้าหมายมีสองกลุ่มกลุ่มที่หนึ่งคือผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการจำนวน 200 คนเพื่อเก็บข้อมูลสำรวจภาวะสุขภาพผู้สูงอายุโดยใช้แบบสำรวจสภาวะผู้สูงอายุที่ปรับมาจากแบบประเมินสุขภาพผู้สูงอายุของสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุขและกลุ่มที่สองคือเครือข่ายองค์กรในชุมชนเจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐจำนวน 70 คนศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้แบบองค์รวมโดยเครือข่ายขององค์กรในชุมชนเก็บข้อมูลโดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วมการสนทนากลุ่มและการจดบันทึกภาคสนาม
ผลการศึกษาพบว่าพื้นที่มีลักษณะเป็นสังคมชนบทใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมใช้ภาษาพื้นเมืองอยู่ร่วมกันรวดเดียวนะครับขยายในลักษณะเครือญาตมีความช่วยเหลือเกื้อกูลการนับถือศาสนาพุทธจากการสำรวจสภาวะสุขภาพเป็นพี่ชายแล้วล่ะ 57.97 ปีส่วนใหญ่ร้อยละมีพฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพบริการเสริมด้านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลแบบองค์รวมกลไกการทำงานที่สำคัญคือการเตรียมชุมชนด้วยการคืนข้อมูลที่ได้จากการสำรวจสภาวะกับต้องการให้ชุมชนเพื่อให้ชุมชนได้รับทราบถึงสภาวะสุขภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุจุดประกายคิดสักวันอย่างหนักเล็งเห็นความสำคัญเกิดแรงจูงใจและเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานจึงนำไปสู่การแต่งตั้งคณะทำงานขึ้นมาจากนาทีจาก 20 คนชอบมีการประชุมสี่มิติคือกายจิตสังคมและจิตวิญญาณผ่านกลไกทางประเพณีจะมาทำของชุมชนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุมีการประเมินผลและการสรุปบทเรียนซึ่งกลไกการทำงาน ดังกล่าวจากกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วมประสานการทำงานร่วมกันระหว่างเครือข่ายในชุมชนโดยมีหน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุนเป็นการดึงศักยภาพที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการเนื่องด้วยสามารถมีส่วนร่วมนำกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วมในรูปแบบนี้ไปปรับใช้ในการแก้ไขปัญหาในการดูแลกลุ่มเป้าหมายต่างๆในชุมชนได้ต่อไป
References
จรัส สุวรรณเวลา. เกสารประกอบการประชุมวิชากาแห่งชาติด้านสูงวัยและผู้สูงอายุ วันที่ 9 เมษายน 2550. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2550:1-5
สำนักวิจัยและบริการวิชาการ. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. พิมพ์ครั้งที่ 1 อุตรดิถ์: สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์;254:1-20
กนกทิพย์ พัฒนาพัวพันธ์. เทคนิคการได้กลุ่มตัวอย่าง พิมพ์คั้งที่ 1. คณะสึกษาศาสตร์ มหาวิยาลัยเชียงใหม่ 2539:34-39
สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์. คู่มือแนวทางการจัดตั้งและดำเนินการคลินิกผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 1 . กระทรวงสาธารณสุข;2548:313-15
สุภางค์ จันทวานิช.วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิพม์คั้งที่ 9 กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2543:44-95
เสาวนีย์ สีสองลม. การมีส่วนรวมของชุมชนในโคงรการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง บ้านกิ่งพร้าว อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่;2541;63.
กัลยา วานิชย์บัญชา. การใ SPSS for Windows .ในการวิเคาะห์ข้อมูล . พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุงเทพฯ.ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบํญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;2546:127-132