ผลการวิเคราะห์และการจัด่ลำพดับของปัญหาสุขภาพจากฐานข้อมูลสุขภาพจังหวัดพะเยา

ผู้แต่ง

  • เฉลิม ใจอุ่น สำนักงานสาธารรสุขจังหวัดพะเยา

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ, การจัดลำดับของปัญหาสุขภาพพะเยา

บทคัดย่อ

            การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการกำหนดปัญหาและจัดลำดับความสำคัญของปัญหาโดยใช้ฐานข้อมูลสุขภาพของจังหวัดพะเยาประกอบด้วยขนาดและความรุนแรงของปัญหาสาธารณสุขข้อมูลการป่วยและการตายของประชาชนผลกระทบจากภาวะในการดูแลความสูญเสียอันเนื่องจากการตายก่อนวัยอันควรและต้นทุนเฉลี่ยสัมภาษณ์ในการดูแลรักษาพยาบาลกระบวนการวิเคราะห์ด้วยคำนวณขนาดของแต่ละปัญหาแล้วนำมาถ่วงน้ำหนักคะแนนผลการศึกษาพบว่าสาเหตุการตายด้วยโรคมะเร็งตับและเท่านี้ดีเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งที่มีอาการตาย = 27.95 ต่อประชากร 100,000 คนรองลงมาคือการตายด้วยโลหิตเป็นพิษเมียตาตาย = 23.63 ต่อประชาชน 100,000 คนและโรคเอดส์ = 22.20 ต่อประชากร 100,000 คนสำหรับข้อมูลการป่วยประเภทผู้ป่วยและอัตราป่วยนิดด้วยสาเหตุต่างๆของประชาชนพบว่าความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุการป่วยที่เข้ารับการรักษาเป็นลำดับที่หนึ่งมีอัตราการป่วย = 567.2 ต่อประชากร 100,000 คนลำดับที่สองคือการป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจอุดกั้นหรือมีอาการป่วยตาย 406.9 ต่อ ต่อประชากร 100,000 คนและโรคเบาหวานมีอัตราตาย 315.1 ต่อประชากร 100,000 คนจากการคำนวณกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมพบว่าโรคที่มีผลของค่าน้ำหนักสัมพัทธ์สูงเป็นลำดับที่หนึ่งคือโรคความดันโลหิตสูงมีผลรวมของค่า RW = 3237.40 โรคทางเดินหายใจอุดตันมีผลรวมของค่า RW=2726.10 รองลงมาคือโรคเบาหวานมีผลรวมของค่า RW = 1768.58 ขณะที่โลกที่มีผลรวมของจำนวนปีที่เสียไปอันเนื่องจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรคือโรคเอดส์มีจำนวนปีที่เสียไปคือ 3384.93 ปีเรามาคือโรคอับัติเหตุจราจรมีจำนวนปีที่เสียไปคือ 3293.79 และมะเร็งตับได้เท่านี้ดีมีจำนวนปีที่เสียไปคือ 2326.93 ปีเมื่อรวมค่าเฉลี่ยคะแนนที่ได้จากการคำนวณแต่ละดัชนีแล้วนำผลคะแนนมาจัดลำดับสาเหตุที่เป็นปัญหาสาสุขจังหวัดพะเยาพบว่า เอดส์ อุบัติเหตุจราจรและโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสำคัญที่1 มีผลรวมของคะแนน = 13 คะแนนที่สองเป็นปัญหาโรคทางเดินหายใจอุดกั้นมีผลรวมคะแนน = 2 คะแนนและลำดับที่สามคือโรคมะเร็งตับและท่อน้ำดีและโรคเบาหวานมีผลรวมของคะแนน = 11 คะแนนผลการวิเคราะห์และการจัดลำดับความสำคัญโดยใช้ดัชนีร่วมหลายตัวทั้งในด้านความรุนแรงและขนาดของปัญหาความสูญเสียและภาวะโรคทำให้ได้ทราบปัญหาที่สำคัญของจังหวัดตลอดจนปัญหาที่มีความสำคัญเร่งด่วนของจังหวัดที่แท้จริงและที่จังหวัดจะต้องนำไปกำหนดนโยบายและกลยุทธ์เพื่อดำเนินการแก้ไขให้สอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่ตลอดจนกระบวนการวิเคราะห์จะเป็นแบบอย่างให้กับพื้นที่ต่างๆได้นำฐานข้อมูลของจังหวัดมาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่าจนส่งผลดีต่อการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นต่อไป

References

จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ. สุภขภาพคนไทยปี พ.ศ. 2543 สถานะสุขภาพคนไทย กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์หมอชาบ้าน. 2543.

จิตร สิทธิอมรและคณ๋ะ. ภาระโรคในคนไทยและเนวคิดเพื่อการเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค. รายงานวิจัยกรุถงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2541

บูรณชัย์ สมุทรักษ์ และคณะการวัดระดับความสูญเสียจากโรคท่กระทบต่อสังคมไทย แนวการจัดลำดับปัญหาสุขภาพ. รายงาวิจัย กรุถงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2542

ศุภสิทธิ์ พรรษรุโรทัย. กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม: การพัฒนาและประโยน์ในประเทศไทย รายงานวิจัย พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2544

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-10

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป