ผลการรักษาโรคไตอกเสบลูปัสชนิดรุนแรง

ผู้แต่ง

  • ไพบูลย์ อรุณมานะกุล กลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลจอมทอง

คำสำคัญ:

Lupus nephritis, Crescent, Renal survival

บทคัดย่อ

         โรคไตอักเสบจากลูปัส เป็นโรคที่พบได้บ่อยโดยเฉพาะในแถบเอเชีย และเป็นที่ทราบกันดีว่าไตอักเสบลูปัสที่มีจำนวนเซลล์เพิ่มในหน่วยไต ( Diffuse proliferative lupus nephritis) มีพยากรณ์โรคที่ไม่ดีในระยะยาวแต่สำหรับกลุ่มที่เกิดมีเซลล์เข้าไปอยู่ในกระเปาะกรองของหน่วยไต (crescentic lesionยังไม่มีการศึกษษอย่างจริงจัง วัตถุประสงค์ของการศึกษาลักษณะทางคลินิกและการดำเนินโรคของผูป่วยไตอักเสบลูปัสที่มีจำนวนเซลล์เพิ่มในหน่วยไต โดยเปรีบเทียบกลุ่มศึกษาที่ 1 ซึ่งมี crescentic lesion น้อยกว่า 30% กับกลุ่มที่ศึกษาที่ 2 ซึ่งมี crescentic lesion มากกว่าหรือเท่ากับ 30% ขึ้นไปทำการศึกษาโดยทบทวนผลการตรวจพยาธิวิทยาของชิ้นเนื้อไต และรายงานผูป่วยย้อนหลังต้งแต่มกราคม 2542 ถึง ธันวาคม 2545 เลือกผู้ป่วยที่วินิจฉัยว่าเป็นไตอักเสบลูปัสที่มีจำนวนเซลล์เพิ่มในหน่วนยไต โดยศึกษามาถึงอาการแสดงทางคลินิก, ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ, การรักษาที่ได้รับ, ผลการรักษา, ระดับการทำงานของไต, อัตราการคงอยู่ของการทำงานของไต และอัตราการอยู่รอดของผู้ป่วย ผลการศึกษาพบ่าผู้ป่วยทั้งหมด 89 รายที่เข้าการศึกษา แบ่เงป็นกลุ่มที่ 1 จำนวน 52 รายและกลุ่มที่ 2 จำนวน 37 ราย ไม่มีความแตกต่างในเรื่องของอายุ เพศ คาวมดันโลหิต ระยะเวลาของดรคก่อนการเจาะชิ้นเนื้อไต ผลการตรวจ ANA serum albumin serum cholesterol 24 hr urine protein C4 และ ผู้ป่วยกลุ่ม 1 มีอาการแสดงแบบ nephritis มากกว่า (91.9% vs 69.2% P < 0.05) ระดับของ serum creatinine (SCr) ที่สูงกว่า (292.5+203.9 vs 177.32+168.4 Pmol/L, P < 0.01), ระดับของ C3 ต่ำกว่า (523.3±212.0 vs 653.8±298.4 Pg/ml, P < 0.05) ในผู้ป่วยกลุ่มที่ 2 ได้รับการรักษาด้วย Intravenous Methyl prednisolone (IVMP) และ Intravenous Cyclophosphamide (IVCY) มากกว่ากลุ่มที่ 1 (32.4% vs 11.5%, P < 0.05)โดยมีอัตรากาคงอู่ขงการทำงานของไตที่ 1 ปีและ อัตราการคงอยู่ของการทำงานของไตที่ 5 ปี เท่ากับ 91% และ 83% และ 57% ตามลำดับ มีผู้ปก่วยเสียชีวิตกลุ่มละ 1 ราย ลัตราการเกิดโรคกลับมเป็นซ้ำ ไม่แตกต่างกันในทั้ง 2 กลุ่ม โดยสรุป จากากรศึกษาพบว่าผู้ป่วยโรคไตอักเสบลูปัส ทีมีจำนวนเซลล์เพิ่มในหน่วไต หกลุ่มที่มี crescentic lesion ตั้งแต่ 30% มีอาการแสดงของ nephritic มากว่า SCr สูงกว่า C3ตำกว่า และมีผลการรักษาที่แยกว่าในแง่ของอัตราการตอบสนองต่อการรักษา อัตราการเกิด เพิ่มขึ้นสองเท่า และอัตราการคงอยู่ของการทำงานของไต

References

Jan J. Weening, Vivette D. D’Agati et al. The classification of glomerulonephritis in systemic lupus erythematosus revisited. Kidney Int. 65: 521-530, 2004

Gerald B. Appel, Jai Radhakrishnan, and Vivette D. D’Agati Secondary Glomerular Disease In: Barry M. Brenner (eds) Brenner & Rector’s The Kidney. 7th ed.2004 pp. 1381-1481

Howard A. Austin III, Dimitrios T. Boumpas and James E. Balow Crescentic nephritis in systemic lupus erythemotosus. In: Rapid Progressive Glomerulonephritis. Oxford medical publication pp 186-206

Ronald J. Falk, J. Charles Jennette, and Patrick H. Nachman Primary Glomerular Disease In: Barry M. Brenner (eds) Brenner & Rector’s The Kidney. 7th ed.
2004 pp. 1293-1380 5. Marc A. Seelee, L.A. Trouw and M.R. Daha Diagnostic significance of anti-C1q antibodies insystemic lupus erythemotosus. Curr Opin Nephrol Hypertens 12: 619-624, 2003

V Sumethkul, P Chalermsanyakorn, S changsirikulchai and P Radinahamed Lupus nephritis: a challenging cause of rapidly progressive crescentic glomerulonephritis. Lupus 9: 424-428, 2000

Austin HA, Boumpas DT, Vaughan EM, Bolow JE: predicting renal outcomes in severe lupus nephritis: Contributions of clinical and histologic data. Kidney Int 43: 544-550, 1994

Austin HA, Klippel JH, Balow JE, Le Riche NGH, Steinberg AD, Platz PH, et al. Therapy of lupus nephritis: controlled trial of prednisolone and cytotoxic drugs. N Engl J Med 1986; 314: 2156-63

Gourley MF, Austin HA, Scott D, et al. Methylprednisolone and cyclophosphamide, alone or in combination, in patients with lupus nephritis. Ann Intern Med 125:549-557, 1996

C C Mok, R W S wong, K N Lai treatment of severe proliferative lupus nephritis: the current state. Ann Rheum Dis 2003; 62: 799-804

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-12

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป