การอักเสบของหูชั้นกลางในผู้ป่วยเด็กติดเชื้อ เอช ไอ วี ในโรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • กิตติประกาย อัครธรรม

คำสำคัญ:

การอักเสบของหูชั้นกลาง, ผู้ป่วยเด็ก, ติดเชื้อ เอช ไอ วี

บทคัดย่อ

           ผู้ป่วยเด็กติดเชื้อ เอช ไอ วี ในโรงพยาบาลสันป่าตอง  จำนวน 40 คน ในช่วงระยะเวลา 1 ปี (1 กรกฎาคม 2549 ถึง 30 มิถุนายน 2550) พบการอักเสบของหูชั้นกลาง ร้อยละ 10 ทั้งหมดเป็นหูชั้นกลางอักเสบเรื้อรัง โดยมีอายุเฉลี่ย 9.5 ปี ปัจจัยที่อาจมีผลต่อการอักเสบของหูชั้นกลาง ได้แก่ ประวัติการเคยเป็นหูชั้นกลางอักเสบมาก่อนและประวัติสัมผัสควันบุหรี่จากบุคคลรอบข้าง ผลการเพาะเชื้อหนองจากหูพบเชื้อ Pseudomonas aeruginosa Staphylococcus spp. ครั้งหนึ่งของเด็กเหล่านี้ได้รับยาปฏิชีวนะชนิดหยอดหู และยาปฏิชีวนะชนิดรับประทานทั้งหมด หูแห้งดีหลังการรักษาครั้งแรก เนื่องจากการอักเสบของหูชั้นกลางพบได้ไม่น้อยในผู้ป่วยเด็กติดเชื้อ เอช ไอ วี ดังนั้นบุคคลากรทางการแพทย์ควรให้ความสำคัญกับการเฝ้าระวัง การตรวจวินิจฉัย การรักษา โรคหูชั้นกลางอักเสบในผู้ป่วยเด็กติดเชื้อ เอช ไอ วี เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน

References

วิวัฒน์ โรจนพิทยากร, และทวีทรัพย์ ศิรประภา. แนวทางการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยโรคเอดส์เด็ก และผู้ใหญ่ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2545. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา; 2545: 251-6.

Church JA. Human immunodeficiency virus (HIV) infection at children hospital of Los Angeles: Recurrent otitis media or chronic sinusitis as the presenting process in pediatric AIDS. Immuno Allergy Pract 1987; 9: 25-32.

Dashefsky B, Wald ER. Otitis media and sinusitis in patients with HIV infection. In: Pizzo PA, Wilfert CM, editors. Pediatric AIDS The Challenge of HIV infection in infants, children and adolescents. 2nd ed., Philade;phia: Williams & Wilkins; 1998. P.255.

Chaloryoo S, Chotpitayasunondh T, Chiengmai PN. AIDS in ENT in children. Int J Pediatr Otorhinolaryngol 1998; 44:103-7.

Singh A, Georgalas C, Patel N, Papesch M. ENT presentations in children with HIV infection. Clin Otolaryngol 2003;28: 240-3.

Xu Q, Dong M, Wu U. The clinic features of human immunodeficiency (HIV) on ear, nose, throat head and neck[Chinese abstract]. Lin Chuang Er Bi Yan Hou Ke Za Zhi 1999; 13: 552-3.

Gondim LA, Zonta RF, Fortkamp E, Schmeling RO. Otorhinolaryngological manifestations in children with human immunodeficiency virus infection. Int J Pediatr Otorhinolaryngol 2000; 54: 97-102.

Teele DW, Klein JO, Rosner BA. The great Boston otitis media during the first seven years of life in children in great Boston: a prospective cohort study. J Infect Dis 1989; 160: 83-7.

Pukander J, Karma P, Sipil M. Occurrence and recurrence of acute otitis media among children. Acta Otolaryngol Stockh 1982; 94: 479-84.

Shapiro NL, Novelli V. Otitis media in children with vertically-acquired HIV infection: The Great Armond Street hospital experience. Int J Pediatr Otorhinolaryngol 1998; 45: 69-75.

International Federation of Oto-rhino-laryngological society standing committee for pediatric otorhinolaryngology. Pediatric Otorhinolaryngology manual 1997. Rio de Janeiro: the committee; 1997.p20-36.

Bluestone CD. Studies in otitis media : children’s hospital of Pittsburgh-university of Pittsburgh progress report- 2004. Laryngoscope 2004 Suppl; 114: 1-26.

UNSAIDS. The UNSAIDS/WHO Nations Programme on HIV/AIDS 2004. Report on the global AIDS epidemic: 4th global report; 2004.

วิกรม จิวะชาติ, และพิชิต สิทธิไตรย์. อาการและอาการแสดงทางหู คอ จมูกในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อไวรัส เอช ไอ วี (วิทยานิพนธ์). เชียงใหม่(ประเทศไทย) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2544.

Daly KA, Brown JE, Lindgren BR, Meland MH, Le CT, Giebink GS, Epidemiology of otitis media onset by six months of age. Pediatrics 1999; 6:1158-66.

Marchisio P, Principi N. Sorella S. Sala E. Tornaghi R. Etiology of acute otitis media in human immunodeficiency virus-infected children. Pediatr Infect Dis J 1996; 15: 58-61.

Bluestone CD. Otolaryngologic manifestation of HIV infection in children. In: Bluestone CD, Stool SE, Alper CM. et al., editors. Pediatric otolaryngology. 4th ed. Philadelphia:
Saunders. 2003.p.119-20.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-25

ฉบับ

บท

บทความวิชาการทั่วไป