ภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์อายุมากที่มารับบริการในโรงพยาบาลนางรอง

ผู้แต่ง

  • วิจิตร เอกัคคตาจิต

บทคัดย่อ

ปัญหาและความเป็นมา :  หญิงตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไปมีแนวโน้มมากขึ้น ทางการแพทย์ถือว่าเป็นการตั้งครรภ์ในหญิงที่มีอายุมาก ซึ่งถือว่าเป็นความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ที่มีผลกระทบทั้งในหญิงตั้งครรภ์และทารก

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์อายุมากที่มารับบริการที่โรงพยาบาลนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์

วิธีการศึกษา  : การศึกษาย้อนหลังเชิงพรรณนา(Retrospective descriptive study) โดยรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนจากฐานข้อมูลระบบ HOSxp และทะเบียนบันทึกการคลอดของหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกคลอดโรงพยาบาลนางรอง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคมพ.ศ. 2557 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558

ผลการวิจัย  : การเปรียบเทียบผลลัพธ์ของการตั้งครรภ์และการคลอดเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อน   ในหญิงตั้งครรภ์วัยผู้ใหญ่และหญิงตั้งครรภ์อายุมากพบว่า ภาวะความดันโลหิตสูง   ในหญิงตั้งครรภ์ โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ชนิดรักษาโดยควบคุมอาหาร(class A1) โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ชนิดรักษาโดยใช้อินซูลิน(class A2) การผ่าตัดทาง    หน้าท้อง ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ และ ภาวะแทรกซ้อนตกเลือดหลังคลอดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p< 0.001) การเปรียบเทียบผลลัพธ์ภาวะแทรกซ้อนของทารกแรกคลอดในหญิงตั้งครรภ์วัยผู้ใหญ่และหญิงตั้งครรภ์อายุมาก  บว่า Apgar score 1 นาที <7 แตกต่างกับหญิงตั้งครรภ์อายุมากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05)

สรุป   :  หญิงตั้งครรภ์อายุมากมีปัจจัยเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ การคลอดและภาวะแทรกซ้อนของทารก

คำสำคัญ  : หญิงตั้งครรภ์อายุมาก/ ภาวะแทรกซ้อน/การตั้งครรภ์และการคลอด/ทารกแรกคลอด

References

Cunningham FG, Leveno KJ, Bloom SL, Haulth JC, Rouse DJ, Spong CY, editors.William Obstetrics 23nd ed. New York: McGraw-Hill; 2010: 180-1.

Hsieh TT, Liou JD, Hsu JJ, Lo LM, Chen SF, Hung TH. Adversed maternal age and adversed perinatal outcomes in Asian population. Eur J Obstet Reprod Biol. 2010 Jan; 148(1): 21-6.

Brady EH, Joyce AM, Michelle JO, Sally CC, T.J. Mathews. Births: Final Data for 2014. National Vital Statistics Reports, Vol. 64, No. 12, December 23;2015: 5-6.

สำนักงานยุทธศาสตร์และการวางแผนพัฒนาสังคม(สพส.). จำนวนและอัตราเจริญพันธุ์ ต่อประชากรหญิง 1,000 คน จำแนกตามกลุ่มอายุมารดา ปี พ.ศ. 2545 - 2557 [เข้าถึงเมื่อ 8 สิงหาคม 2558]. เข้าถึงได้จาก: http://social.nesdb.go.th/SocialStat//StatReport_Final.aspx?reportid=215&template=1R2C&yeartype=M&subcatid=15

กติกา นวพันธุ์. การตั้งครรภ์ในสตรีสูงอายุ. ใน เยิ้อน ตันนิรันดร, วรพงศ์ ภู่พงศ์, บรรณาธิการ. เวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์. พิมพ์ครั้งที่3 กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย; 2556: 172-199.

Ratinan Techasueb. Outcome of Elderly Pregnancy in Sukhothai Hospital.Buddhachinaraj Med J 2010;27: 323-28.

Silalai S., Pregnancy and perinatal outcomes of primiparous women in different age groups in Pattani Hospital. Songkla Med J, Vol. 23 No. 3 May-Jun. 2005: 157-63

M.Jolly, N.Sebire, J.Harris, S.Robinson, L.Regan. The risk associate with pregnancy in women aged 35 years or older. Human Reproduction vol.15 no.11;2000: 2433-77.

Young Joo Kim, Jee Eun Lee, Soo Hyun Kim, Sung Shin Shim, Dong Hyun Cha. Maternal age-specific rates of fetal chromosomal abnormalities in Korean pregnant women of advanced maternal age. Obstet Gynecol Sci 2013;56(3): 160-166.

William M. Callaghan, MD, MPH, and Cynthia J. Berg, MD, MPH. Pregnancy-Related Mortality Among Women Aged 35 Years and Older, United States, 1991–1997. The American College of Obstetricians and Gynecologists. VOL. 102, NO. 5, PART 1, NOVEMBER 2003: 1015-21.

นงลักษณ์ มุตติ. ข้อมูลเวชระเบียนฐานข้อมูลระบบ HOSxp และทะเบียนบันทึกการคลอดของหญิงตั้งครรภ์และทารกแรกคลอดโรงพยาบาลนางรอง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558. กลุ่มงานห้องคลอด ฝ่ายกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลนางรอง; 2559.

วิทยา ฐิถาพันธ์. อายุของแม่กับการตั้งครรภ์. ภาควิชา สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา. [เข้าถึงเมื่อ 15 ธันวาคม 2559]. เข้าถึงได้จาก:http://www.si.mahidol. ac . th/th/depart ment/obstretrics _ gynecology/dept_article_detail.asp?a_ id=50913.Krejcie,R.V. and Morgan,D.W. Determining sample size for research activities. Educational and Measurement. 1970; 30: 607-610.

Krejcie,R.V. and Morgan,D.W. Determining sample size for research activities. Educational and Measurement. 1970; 30: 607-610.

กมล พรมลังกา, กัญญณัท บุณยทรรพ, ปิยวรรณ คำศรีพล, วรางครัตน์ เลาหวัฒน์, กนกรส โค้วจิริยะพันธุ์ และวีระพล จันทร์ดียิ่ง. ผลลัพธ์ของการตั้งครรภ์ในมารดาอายุมาก และมารดาวัยผู้ใหญ่ ณ โรงพยาบาลพะเยา. วารสารศูนย์การแพทยศาสตร์คลินิก โรพงพยาบาลพระปกเกล้า. 2557; 31(3): 148-155.

C. E. Schausberger, V. R. Jacobs, G. Bogner, P. Wolfrum-Ristau, and T. Fischer. Hypertensive Disorders of Pregnanacy- A Life – Long Risk. Geburtshilfe Frauenheilkd. 2013 Jan; 73(1): 47–52. doi: 10.1055/s-0032-1328172

Barbara Luke1 and Morton B. Brown. Elevated risks of pregnancy complications and adverse outcomes with increasing maternal age. Human Reproduction. 2007; Vol. 22, No. 5 pp. 1264–1272. doi: 10.1093/ humrep/del 522.

Sornlada Thanasuan and Dittakarn Borriboonhirunsarn. I n c i d e n c e o f Gestational Diabetes Mellitus Among Pregnant Women with One Abnormal Value of Oral Glucose Tolerance Test. J. Med Assoc Thai 2006; 89 (8): 1109-14.

Terence T. Lao, Lai-Fong Ho, Ben C.P. Chan and Wing-Cheong Leung. Maternal Age and Prevalence of Gestational Diabetes Mellitus. Diabetes Care 2006 Apr; 29(4): 948- 949. doi.org/10.2337/diacare.29.04.06. dc05-2568.

Giri A, Srivastav VR, Suwal A, Tuladhar AS. Advanced maternal age and obstetric outcome. Nepal Med Coll J. 2013 Jun;15(2):87-90.

Gordon D, Milberg J, Daling J, Hickok D. Advanced maternal age as a risk factor for cesarean delivery. Obstet Gynecol. 1991 Apr;77(4):493.

บัณฑูร ลวรัตนากร. ศึกษาอายุมารดากับผลการคลอดของมารดาที่มาคลอดที่โรงพยาบาลกัณทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารป้องกันควบคุมโรคที่ 7. 2555; 11: 1-4.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-25