การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีภาวะขาดสารอาหารและพลังงาน

ผู้แต่ง

  • จินตนา สุวิทวัส

คำสำคัญ:

การพยาบาล, ผู้ป่วยโรคมะเร็ง, ภาวะขาดสารอาหารและพลังงาน

บทคัดย่อ

          ผู้ป่วยโรคมะเร็งส่วนใหญ่มีภาวะขาดสารอาหารและพลังงาน ซึ่งเป็นผลมาจากตัวโรคมะเร็ง ผลข้างเคียงจากการรักษา และภาวะจิตใจ ภาวะขาดสารอาหารและพลังงานส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยโรคมะเร็ง การตอบสนองต่อการรักษาโรคและอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยลดลง การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีภาวะขาดสารอาหารและพลังงาน เพื่อให้ผู้ป่วยมีภาวะโภชนาการที่ดี โดยดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารโปรตีนสูง พลังงานสูง และน้ำอย่างเพียงพอ ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเสริมที่มีสารอาหารครบถ้วน พลังงานสูง โปรตีนสูง  ดูแลให้ป่วยรับประทานอาหารให้ได้มากขึ้นโดยแบ่งอาหารออกเป็นหลายมื้อ อาหารไม่มีกลิ่นฉุน และให้ทำความสะอาดช่องปากก่อนรับประทานอาหาร ผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังผ่าตัด ดูแลให้ผู้ป่วยได้เริ่มรับประทานอาหารให้เร็วที่สุด และให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วย

References

National Cancer Institute. Hospital-based cancer registry 2017. Bangkok: National Cancer Institute, Department of medical services, Ministry of Public Health, Thailand; 2018.

สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ: สถาบันมะเร็งแห่งชาติ; 2560.

นัทมธ วุทธานนท์. การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ. เชียงใหม่: ครองช่าง พริ้นท์ ติ้ง; 2555.

ดาราวรรณ อักษรวรรณ, พิณรัตน์ แถวโสภา , พลากร สุรกุลประภา. ภาวะโภชนาการของผู้ป่วยศัลยกรรมและออร์โธปิ ดิกส์: ผู้ป่วยมะเร็งในหอผู้ป่วย 3ค. ศรีนครินทร์เวชสาร 2562; 34(4): 385-389.

ประณิธิ หงส์ประภาส. การประเมินภาวะโภชนาการ. ใน กาญจนา จันทร์สูง และประณิธิ หงส์ประภาส. บรรณาธิการ. อาการวิทยาทางอายุรศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. ขอนแก่น: คลังนานา; 2558.

จินตนา สุวิทวัส. การประเมินภาวะโภชนาการผู้ป่วยโรคมะเร็ง. ศรีนครินทร์เวชสาร 2563; 35(5): 632-638.

ขนิษฐา อยู่เพ็ชร์, ปรียาภรณ์ แสงทวี, เอกพล อัจฉริยะประสิทธิ์. การจัดการทางการพยาบาลด้าน โภชนาการสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง. เวชบันทึกศิริราช 2563; 13(2): 133-140.

Jasvis C. Physical examination & health assessment. 6thed. Missouri: Elsevier; 2012.

Malnutritional Screening Tool. [Internet] n.d. [cite 2020 December 23] Available from: https://static.abbottnutrition. com/cms-prod/abbottnutrition.

จินตนา สุวิทวัส. การประเมินภาวะโภชนาการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. ขอนแก่น: พิมพ์ถูก; 2563.

Dodson S, Baracos VE, Jatoi A, et al. Muscle wasting in cancer cachexia: clinical implications, diagnosis, and emerging treatment strategies. Annu Rev Med 2011; 62: 265-79.

Grant BL, Hamilton KK. Medical nutrition therapy for cancer prevention, treatment, and recovery. In: Mahan LK, Escott-Stump S, Raymond JL, editors. Krause’s food and the nutrition care process. 14thed. St.Louis: Elsevier; 2017.

เพลิน สูงโคตร. ภาวะโภชนาการผู้ป่วยโรคมะเร็งระบบทางเดินอาหาร. ศรีสะเกษ: โรงพยาบาลโนนคูณ, 2556.

อาทิตย์ กระภฤูทธิ์, จีรนันทร์ แกล้วกล้า, จตุรงค์ จงสถิตย์ไพบูลย์, อาภาพร เผ่าวัฒนา. การประเมินและการดูแลทางโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งศรีษะและลำคอโดยพยาบาล. ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2557.

นิตยา จรัสแสง, ศิริพร มงคลถาวรชัย, เพชรรัตน์ บุตะเขียว, สมลักษณ์ บุญจันทร์, พรนิภา หาญละคร, สุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล. ภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย 2555; 57(4): 439-46.

ประไพ เชิงทวี, สุวรรณี สิริเลิศตระกูล. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับยาเคมีบำบัด: กรณีศึกษาที่หน่วยมะเร็งวิทยาโรงพยาบาลรามาธิบดี. ศรีนครินทร์เวชสาร 2560; 32(1): 64-70.

ภารดี ปรีชาวิทยากุล. ความต้องการคำแนะนำ คำปรึกษาที่พบบ่อยจากการให้บริการสายด่วนโรคมะเร็งโรงพยาบาลสงขลานครินทร์. สงขลานครินทร์เวชสาร 2552; 27(2): 139-51.

วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร. การพยาบาลที่เป็นเลิศในการดุแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์; 2554.

ภัทริกา ปัญญา จงจิต เสน่หา, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, นพดล โสภารัตนาไพศาล. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการของผู้ป่วยมะเร็งลำ ไส้ใหญ่ และลำ ไส้ตรงที่ได้รับยาเคมีบำบัด. Journal of Nursing Science 2560; 34(1): 66-76.

Naumann P, Habermehl D, Welzel T, Debus J, Combs SE. Outcome after neoadjuvant chemoradiation and correlation with nutritional status in patients with locally advanced pancreatic cancer. Strahlenther Onkol 2013; 189: 745-752.

Chang PH, Yeh KY, Huang JS, Lai CH, Wu TH, Lan YJ, et al. Pretreatment performance status and nutrition are associated with early mortality of locallyadvanced head and neck cancer patients u ndergoing concurrent chemoradiation. Eur Arch Otorhinolaryngol. 2013; 270: 1909-15.

Dudek SG. Nutrition essentials for nursing practice. 7th ed. New York: Lippincott Williams & Wilkins, 2014.

ศิริพร เสมสาร, สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม. กรณีศึกษาผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามแบบประคับประคอง: บทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2017; 23(1): 11-26.

จิรภา เสถียรพงศ์ประภา, ผ่องศรี ศรีมรกต, สุพร ดนัยดุษฎีกุล. ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการของผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ขณะรักษาตัวในโรงพยาบาล. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2559; 36(1): 143-161.

ทิพย์วรรณ อรัญดร, อนงนาฎ เรืองดา, พรพิศ เรืองขจร,นันทน์ภัส พรุเพชรแก้ว, ภัทรพิมพ์ สรรพวีรวงศ์.ภาวะโภชนาการ ความเชื่อและพฤตกิรรมการบริโภคอาหาร ประเภทเนื้อสัตว์ในผู้ป่วยมะเร็ง.วารสารโรคมะเร็ง 2560; 37(4): 127-141.

จินตนา สุวิทวัส. เอกสารคำสอนวิชา NU111 102 โภชนศาสตร์สำหรับพยาบาล. ขอนแก่น: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2563.

Stephenson TJ, Schiff WJ. Human nutrition science for health living. New York: McGraw Hill; 2016.

Wardlaw GM, Smith AM, Lindeman AK. Contemporary nutrition: a functional approach. 2nded. New York: McGraw Hill; 2012.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-31