ผลของโปรแกรมพัฒนาความรู้ต่อพฤติกรรมการควบคุมโรคเบาหวาน และ HbA1C ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2

ผู้แต่ง

  • อภิชาติ เอกัคคตาจิต

คำสำคัญ:

โรคเบาหวานชนิดที่ 2, พฤติกรรมควบคุม, น้ำตาลสะสม (HbA1C)

บทคัดย่อ

ความเป็นมา : โรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประเทศ แพทย์ซึ่งเป็นผู้วินิจฉัยและทำการรักษา ต้องการให้ผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลใกล้เคียงค่าปกติมากที่สุด การให้ความรู้และส่งเสริมการปรับพฤติกรรมโดยวิธีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม จะทำให้ผู้ป่วยดูแลตนเองได้อย่างยั ่งยืน ลดภาวะแทรกซ้อนและส่งผลให้ค่าใช้จ่ายในการรักษาลดลง

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาความรู้ต่อพฤติกรรมการควบคุมโรคเบาหวาน และ HbA1C ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2วิธีดำเนินการศึกษา : เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบมีกลุ่มเปรียบเทียบวัดผลก่อนหลังการทดลอง โดยใช้สถิติ Chi-square test ,Paired sample t-test และ Independent sample t-test

ผลการศึกษา : พบว่าหลังทดลองกลุ่มทดลอง มีระดับน้ำตาลในเลือด ระดับน้ำตาลสะสมลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) คะแนนเฉลี่ยความรู้ พฤติกรรมการควบคุมโรคเบาหวานและการสื่อสารมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (p-value < 0.05)

สรุป : ผู้ป่วยโรคเบาหวานที ่ได้รับโปรแกรมจากแพทย์ผู้ทำการรักษาสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับน้ำตาลสะสมลดลงได้ สามารถนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานบริการทางการแพทย์เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยได้

References

อรพินท์ สีขาว.การจัดการโรคเบาหวาน:มิติของโรคและบทบาทพยาบาล.พิมพ์ครั้งที่ 4. สมุทรปราการ : โครงการสำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ; 2561.

ธิติ สนับบุญ และวราภณ วงศ์ถาวราวัฒน์. การดูแลรักษาเบาหวานแบบองค์รวม.หน่วยต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิซึมภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2549.

ชัชลิต รัตรสาร.สถานการณ์ปัจจุบันและความร่วมมือเพื่อปฏิรูปการดูแลรักษาโรคเบาหวานในประเทศไทย.กรุงเทพฯ, ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี; 2560.

ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน. การส่งเสริมสุขภาพในชุมชนแนวคิดและการปฏิบัติ.กรุงเทพฯ,โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2553.

สำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค กระทรงสาธารณสุข. รายงานประจำปี 2560. [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 15 กรกฎาคม 2562]. จาก http://www.thaincd.com/2016/media-detail.php?id=12986&tid=30&gid=1-015-008

Medthai. การตรวจค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(Hemoglobin A1c : HbA1c). [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 15 กรกฎาคม 2562]. จาก https://medthai.com/

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วม. นนทบุรี, กระทรวงสาธารณสุข ; 2543.

ธวัชชัย วรพงศธร. หลักการวิจัยทางสาธารณสุขศาสตร์, กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ; 2543

ประทุม สุภชัยพาณิชพงศ์, ลัดดา อัตโสภณ และพิศาล ชุ่มชื่น. ประสิทธิผลของการใช้แรงสนับสนุนทางสังคม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการควบคุมโรค ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในตำบลแพงพวย อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม,2559 ; 13(2) : 36-45

นราพงศ์ ธีรอัครวิภาสพ. ประสิทธิผลการดูแลผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ โรงพยาบาลลำลูกกา. วารสารวิชาการสาธารณสุข,2562 ; 28(3) : 466-477

ประชุมพร กวีกรณ์ และประเสริฐประสมรักษ์. การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเองในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่2 ที่ขึ้นทะเบียนรักษาในโรงพยาบาลสมเด็จพยุพราชเลิงนกทา.วารสารพัฒนาสุขภาพชุมชนมหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2559 ; 3(4) : 307-324

Tshiananga JK, Kocher S, Weber C, Erny-Albrecht K, Berndt K, Neeser K. The effect of nurse-led diabetes self-management education on glycosylated hemoglobin and cardiovascular risk factors: a meta-analysis. , 2012 ; 38(1) : 108-123.
doi: 10.1177/0145721711423978. Epub 2011 Nov 23.

Carlos Gabriel de Lade, João Carlos Bouzas Marins, Luciana Moreira Lima, Cristiane Junqueira de Carvalho,Robson Bonoto Teixeira, Maicon Rodrigues Albuquerque, Janice Sepúlveda Reis, andPaulo Roberto dos Santos Amorim. Effects of different exercise programs and minimal detectable changes in hemoglobin A1c in patients with type 2 diabetes. Published online 2016 Feb 16. doi: 10.1186/s13098-016-0123-y

Marisa E. Hilliard, Joyce P. Yi-Frazier, Danielle Hessler, Ashley M. Butler, Barbara J. Anderson, andSarah Jaser. Stress and A1c Among People with Diabetes Across the Lifespan. Published in final edited form as:Curr Diab Rep. 2016 Aug; 16(8): 67.doi: 10.1007/s11892-016-0761-3.

เผยแพร่แล้ว

2020-10-19