การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ: กรณีศึกษา
คำสำคัญ:
ภาวะปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ, การดูแลระยะวิกฤตบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยที่เกิด VAP เปรียบเทียบกรณีศึกษาจำนวน 2 ราย
รูปแบบและวิธีวิจัย : เป็นการรายงานการศึกษาผู้ป่วยกรณีศึกษาที่เกิด VAP จำนวน 2 รายเปรียบเทียบกัน ณ หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาสารคาม โดยวิธีรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียน การซักประวัติจากผู้ป่วยและญาติ การสอบถามข้อมูลจากบุคลากรประจำหอผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลในประเด็น 1) ข้อมูลและแบบแผนสุขภาพ 2) พยาธิสภาพ 3) อาการและอาการแสดง และ4) แผนการรักษา ประเมินปัญหาทางการพยาบาลโดยใช้แบบแผนการประเมินภาวะสุขภาพของกอร์ดอน ใช้รูปแบบการเขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาล ตามแนวทางThe North American Nursing Diagnosis Association(NANDA)ให้การพยาบาลและประเมินผลลัพธ์การพยาบาลใน3 ระยะ ได้แก่ ระยะวิกฤตระยะฟื้นฟูสภาพและระยะการวางแผนจำหน่าย
ผลการศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยกรณีศึกษาที่เกิด VAP จำนวน 2 รายได้แก่ ผู้ป่วยที่มีภาวะ Dilated cardiomyopathy (DCM) และผู้ป่วยที่มีภาวะ Bacteria meningoencephalitis พักรักษาตัว ณ หอผู้ป่วยหนักอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาสารคามระหว่างเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม พ.ศ. 2562 ส่งเสมหะตรวจเพาะเชื้อพบเชื้อจุลชีพ AcinetobacterbaumanniiMDR หลังให้การดูแลตามแนวทางของกลุ่มงานการพยาบาลด้านควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ พบว่าผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง ได้รับการดูแลและการเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่ายกลับบ้านอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว
References
Bonell A, Azarrafiy R, Huong VTL, Viet TL, Phu VD, Dat VQ et al. A systematic review and meta-analysis of ventilator-associated pneumonia in adults in Asia: An analysis of national income level on incidence and etiology. Clin Infect Dis. 2019 Jan 18;68(3):511-8.
Chawla R. Epidemiology, etiology, and diagnosis of hospital-acquired pneumonia and ventilator-associated pneumonia in Asian countries. Am J Infect Control 2008;36: S93-S100.
อะเคื้อ อุณหเลขกะ.การป้องกันปอดอักเสบในโรงพยาบาล. แนวทางการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล. เชียงใหม่. มิ่งเมืองนวรัตน์. 2560:205-16.
โรงพยาบาลมหาสารคาม. รายงานการป้องกันและการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล พ.ศ. 2563. มหาสารคาม.โรงพยาบาลมหาสารคาม. 2563 (เอกสารสำเนา)
สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย, สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย สมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย และชมรมควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแห่งประเทศไทย.
แนวเวชปฏิบัติในการดูแลรักษาและป้องกันปอดอักเสบในโรงพยาบาลและปอดอักเสบที่เกี่ยวข้องกับเครื่องช่วยหายใจในผู้ใหญ่ในประเทศไทย. จุลสารสมาคมเวชบาบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย. 2550; 15(1): 10–27.
Kalanuria AA, Ziai W, Mirski M. Ventilator-associated pneumonia in the ICU. Crit Care. 2014;18(2):208.
Centers for Disease Control and Prevention. Guidelines for preventing health –careassociater pneumonia 2009. [cited 2021 Jan.24] Available from http:// www.cdc.gov
วิภา รีชัยพิชิตกุล.HAP, VAP and HCAP guidelines: from guidelines to clinical practice. Srinagarind Medicine Journal.2553;(25):87–94.
Wu D, Wu C, Zhang S, Zhong Y. Risk factors of ventilator-associated pneumonia in critically III patients. Front Pharmacol. 2019;10:482.
Xu Y, Lai C, Xu G, Meng W, Zhang J, Hou H et al. Risk factors of ventilator-associated pneumonia in elderly patients receiving mechanical ventilation. ClinInterv Aging.2019;14:1027-38.
Rit K, Chakraborty B, Saha R, Majumder U. Ventilator associated pneumonia in a tertiary care hospital in India: Incidence, etiology, risk factors, role of multidrug resistant pathogens. International Journal of Medicine and Public Health. 2014;4(1):51-6.
Joseph NM, Sistla S, Dutta TK, Badhe AS, Parija SC. Ventilator-associated pneumonia in a tertiary care hospital in India: incidence and risk factors. J Infect DevCtries. 2009;3(10):771-7.
Charles MP, Easow JM, Joseph NM, Ravishankar M, Kumar S, Umadevi S. Incidence and risk factors of ventilator associated pneumonia in a tertiary care hospital. Australas Med J. 2013;6(4):178-82.
Papazian L, Klompas M, Luyt CE. Ventilator-associated pneumonia in adults: a narrative review. Intensive Care Med. 2020;46(5):888-906.
สมจิตร พิริยะประภาอะษา ชะโนภาษจำรัส รงศ์จำเริญบังอรรัตน์ บุญคงและยุพาวรรณ ทองตะนุนาม. การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ของพยาบาลในการป้องกันการเกิดปอดอักเสบ ที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ. J HlthSci Res 2557; 8(1):35-45.
กลุ่มงานการพยาบาลด้านควบคุมและป้องกันการติดเชื้อโรงพยาบาลมหาสารคาม.แนวทางการป้องกันและการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล.มหาสารคาม.โรงพยาบาลมหาสารคาม. 2559 (เอกสารสำเนา)
Gordon M. Nursing diagnosis: Process and application. New York: McGraw-Hill. 1994
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลมหาสารคาม