การศึกษาพฤกษเคมีเบื้องต้นและฤทธิ์การต้านเชื้อแบคทีเรียของสารสกัดสะแกนา

ผู้แต่ง

  • จรินยา ขุนทะวาด คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
  • ฉัตรลดา หงษ์วิลัย
  • ศิรินทิพย์ พรมเสนสา
  • นฤวัตร ภักดี
  • ภานิชา พงศ์นราทร
  • พงศธร ทองกระสี
  • ฉัตรชนก นุกูลกิจ
  • ทัณฑิกา แก้วสูงเนิน
  • เพ็ญศิริ จันทร์แอ

คำสำคัญ:

สะแกนา, สารพฤกษเคมี, ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย, สแตปไฟโลคอกคัส ออเรียส

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาฤทธิ์ทางพฤกษเคมีและฤทธิ์การยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus ของสารสกัดส่วนสดและแห้งของกิ่ง เปลือก ผล และใบสะแกนา (Combretum quadrangulare kurz.)

รูปแบบและวิธีวิจัย : เป็นการศึกษาวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) โดยนำสารสกัดส่วนสดและแห้งของ กิ่ง เปลือก ผล และใบสะแกนา ที่สกัดด้วยเอทานอล 95% ตรวจสอบหาสารพฤกษเคมี และทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus ด้วยวิธี Disc diffusion และ Broth dilution วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ One-Way ANOVA

ผลการศึกษา : เมื่อนำสารสกัดส่วนสดและแห้งมาตรวจสอบสารพฤกษเคมีเบื้องต้นพบว่า สารสกัดส่วนสดและแห้งของกิ่ง เปลือก ผล และใบ พบสารพฤกษเคมีที่แตกต่างกัน แต่พบสารพฤกษเคมีที่เหมือนกัน คือ ฟลาโวนอยด์ ซาโปนิน และแทนนิน การทดสอบฤทธิ์การยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ด้วยวิธี Disc diffusion พบว่าสารสกัดจากสะแกนาสามารถยับยั้งเชื้อ S. aurues ได้ ซึ่งโดยส่วนใหญ่สารสกัดจากส่วนแห้งมีโซนการยับยั้งได้ดีกว่าส่วนสด โดยสารสกัดจากส่วนแห้งดีที่สุดคือกิ่ง มีค่าเฉลี่ยของบริเวณโซนใสเท่ากับ 20.00±0.50 มิลลิเมตร มีค่าความเข้มข้นต่ำที่สุดที่สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย (Minimal inhibitory concentration, MIC) เท่ากับ 1.95 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร  ค่าความเข้มข้นต่ำที่สุดที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Minimal bactericidal concentration, MBC) เท่ากับ 3.91 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร สารสกัดจากส่วนสดที่มีโซนการยับยั้งดีที่สุดคือผลสด มีค่าเฉลี่ยของบริเวณโซนใสเท่ากับ 15.00±0.00 มิลลิเมตร มีค่า MIC เท่ากับ 1.95 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และค่า MBC เท่ากับ 3.91 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร

สรุปผลการศึกษา : จากผลของการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าสะแกนามีคุณสมบัติในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้ ซึ่งในอนาคตอาจนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพได้

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาฤทธิ์ทางพฤกษเคมีและฤทธิ์การยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus ของสารสกัดส่วนสดและแห้งของกิ่ง เปลือก ผล และใบสะแกนา (Combretum quadrangulare kurz.)

รูปแบบและวิธีวิจัย : เป็นการศึกษาวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) โดยนำสารสกัดส่วนสดและแห้งของ กิ่ง เปลือก ผล และใบสะแกนา ที่สกัดด้วยเอทานอล 95% ตรวจสอบหาสารพฤกษเคมี และทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus ด้วยวิธี Disc diffusion และ Broth dilution วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ One-Way ANOVA

ผลการศึกษา : เมื่อนำสารสกัดส่วนสดและแห้งมาตรวจสอบสารพฤกษเคมีเบื้องต้นพบว่า สารสกัดส่วนสดและแห้งของกิ่ง เปลือก ผล และใบ พบสารพฤกษเคมีที่แตกต่างกัน แต่พบสารพฤกษเคมีที่เหมือนกัน คือ ฟลาโวนอยด์ ซาโปนิน และแทนนิน การทดสอบฤทธิ์การยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ด้วยวิธี Disc diffusion พบว่าสารสกัดจากสะแกนาสามารถยับยั้งเชื้อ S. aurues ได้ ซึ่งโดยส่วนใหญ่สารสกัดจากส่วนแห้งมีโซนการยับยั้งได้ดีกว่าส่วนสด โดยสารสกัดจากส่วนแห้งดีที่สุดคือกิ่ง มีค่าเฉลี่ยของบริเวณโซนใสเท่ากับ 20.00±0.50 มิลลิเมตร มีค่าความเข้มข้นต่ำที่สุดที่สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย (Minimal inhibitory concentration, MIC) เท่ากับ 1.95 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร  ค่าความเข้มข้นต่ำที่สุดที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Minimal bactericidal concentration, MBC) เท่ากับ 3.91 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร สารสกัดจากส่วนสดที่มีโซนการยับยั้งดีที่สุดคือผลสด มีค่าเฉลี่ยของบริเวณโซนใสเท่ากับ 15.00±0.00 มิลลิเมตร มีค่า MIC เท่ากับ 1.95 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และค่า MBC เท่ากับ 3.91 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร

สรุปผลการศึกษา : จากผลของการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าสะแกนามีคุณสมบัติในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้ ซึ่งในอนาคตอาจนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพได้

References

Bereksi MS, Hassaïne H, Bekhechi C, Abdelouahid DE. Evaluation of antibacterial activity of some medicinal plants extracts commonly used in Algerian traditional medicine against some pathogenic bacteria. Pharmacognosy j. 2018;10(3):507-512.

Al-Mariri A, Safi M. In vitro antibacterial activity of several plant extracts and oils against some gram-negative bacteria. Iran J Med sci. 2014;39(1):36-43.

Kondo S, Temrangsee P, Sattaponpan C, Itharat A. Antibacterial activity of Thai herbal plants and development of hand washing gel product. J Med Assoc Thai. 2017;100(6):18-22.

Banskota AH, Tezuka Y, Tran Q, Kadota S. Chemical constituents and biological activities of Vietnamese medicinal plants. Curr Top Med Chem. 2003;3(2):227-248.

Nopsiri W, Chansakaow S, Putiyanan S, Natakankitkul S, Santiarworn, D. Antioxidant and anticancer activities from leaf extracts of four Combretum pecies from Northern Thailand. CMU J. Sci. (Thailand). 2014;13(2):195-205.

Chittasupho C, Athikomkulchai S. Nanoparticles of Combretum quadrangulare leaf extract induce cytotoxicity, apoptosis, cell cycle arrest and anti-migration in lung cancer cells. J Drug Deliv Sci Technol. 2018;45:378-387.

Natachit K, Santiarvorn D, Khantawa B. Antibacterial activity of the seeds of Combretum quadrangulare Kurz (Combretaceae). CMU J. Sci. (Thailand). 2006;5(3): 333-339.

Macé S, Hansen LT, Rupasinghe HV. Anti-bacterial activity of phenolic compounds against Streptococcus pyogenes. Medicines. 2017;4(25):1-9.

Miklasinska-Majdanik M, Kepa M, Wojtyczka RD, Idzik D, Wasik TJ. Phenolic compounds diminish antibiotic resistance of Staphylococcus aureus clinical strains. Int. J. Environ Res. Public Health. 2018;15(2321):1-18.

Chattheeranant S, Sabaijai V. Phytochemical screening and antioxidant activity of Clerodendrum disparifolium leaves. KKU Sci. J. 2013;41(3):723-730.

Cockerill RF, Wikler AM, Alder J, Dudley NM, Eliopoulos MG, Ferraro JM, et al. Clinical and laboratory standards institute; methods for dilution antimicrobial susceptibility tests for bacteria that grow aerobically. Approved standard-ninth edition. Pennsylvania USA:Wayne;2012.

อุษา ทองไพโรจน์, สาวิตรีวงศ์ตั้งถิ่นฐาน, วันชัย สังฆ์สุข, ภูวดล โกมณเฑียร, สุรพงศ์ รัตนะ. การศึกษาความหลากหลายและพฤกษเคมีของพืชหอมในพื้นที่ป่าปุ่งป่าทาม ลุ่มแม่น้ำชี จังหวัดมหาสารคาม. ว. แก่นเกษตร. 2554;39(ฉบับพิเศษ):384-391.

Nantachit K, Tuchinda P, Khantawa B, Roongjang S. Antibacterial activity of extract and an isolated steroidal alkaloid from the seeds of Combretum quadrangulare Kurz. JPP. 2016;4:261-267.

สุจิตรา ยาหอม, รุ่งฤดี ทิวทอง. ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ของสารสกัดหยาบใบเพกา. ว.วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2562;47(3):459-467.

Cheng D, Zhang Y, Gao D, Zhang H. Antibacterial and anti-inflammatory activities of extract and fractions from Pyrrosia petiolosa (Christ et Bar.) Ching. J Ethnopharmacol. 2014;155(2):1300-1305.

Nopsiri W, Chansakaow S, Putiyanan S, Natakankitkul S, Nantachit K, Khantawa B, Santiarworn D. Chemical constituents and antibacterial activity of volatile oils of Combretum latifolium Bl. and C. quadrangulare Kurz leaves. CMU J. Sci. (Thailand). 2015;14(3):245-256.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-29