ผลการรักษาและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงใน โรงพยาบาลมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • สัจจชน ช่างถม

คำสำคัญ:

มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง, ผลการรักษา, ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง, โรงพยาบาลมหาสารคาม

บทคัดย่อ

          วัตถุประสงค์ : ศึกษาผลการรักษาและปัจจัยที่สัมพันธ์ของ มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงในโรงพยาบาลมหาสารคาม

          รูปแบบและวิจัย : เป็นการศึกษาวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytic study by retrospective data collection) โดยเก็บข้อมูลผู้ป่วยและการรักษาจากเวชระเบียน เก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง ตั้งแต่ 1 มกราคม 2556 - 31 ธันวาคม 2558

          ผลการศึกษา :  อัตรารอดชีวิต 5 ปีอยู่ที่ร้อยละ 51.2 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ overall survival พบว่า Histological grade, Resection margin, N stage, M stage, Pathological stage, Chemotherapy, Radiation, Combined chemotherapy and radiation สัมพันธ์กับ overall survival อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  นอกจากนั้นพบว่าอายุมากกว่า 60 ปี Lymph-vascular invasion, T stage ไม่สัมพันธ์กับ overall  survival

          สรุปผลการศึกษา : ผลการรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงของโรงพยาบาลมหาสารคามเป็นไปตามมาตรฐานสากลและมีผลการรักษาที่ดี

References

Kanokphan Phansranoi, Supot Kamsa-ard, Nut Boonnithi, Nintita Sripaiboonkij Thokanit, Naowarat Maneenin. ไส้ตรงหลังการวินิจฉัยที่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา. Srinagarind Med J. 2021 Apr 7;36(2):222–8.

ภานุวัฒน์ ขันธสะอาด. โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ในโรงพยาบาลมหาสารคาม. วารสารโรงพยาบาล มหาสารคาม. 2015;12(2):101–11.

Juan A. Díaz-González, Felipe A. Calvo, Javier Cortés, José L. García-Sabrido, Marina Gómez-Espí, Emilio Del Valle, et al. Prognostic factors for disease-free survival in patients with T3-4 or N+ rectal cancer treated with preoperative chemoradiation therapy, surgery, and intraoperative irradiation. Int J Radiat Oncol Biol Phys. 2006 Mar 15;64(4):1122–8.

Jose G. Guillem, David B. Chessin, Alfred M. Cohen, Jinru Shia, Madhu Mazumdar, Warren Enker, et al. Long-term oncologic outcome following preoperative combined modality therapy and total mesorectal excision of locally advanced rectal cancer. Ann Surg. 2005 May;241(5):829–36; discussion 836-838.

Jean-François Bosset, Laurence Collette, Gilles Calais, Laurent Mineur, Philippe Maingon, Ljiljana Radosevic-Jelic, et al. Chemotherapy with preoperative radiotherapy in rectal cancer. N Engl J Med. 2006 Sep 14;355(11):1114–23.

Rolf Sauer, Heinz Becker, Werner Hohenberger, Claus Rödel, Christian Wittekind, Rainer Fietkau, et al. Preoperative versus Postoperative Chemoradiotherapy for Rectal Cancer. N Engl J Med. 2004 Oct 21;351(17):1731–40.

Vutisiri Veerasarn, Pentipa Sereepitakkul. The comparison of late complications between 2D conventional radiotherapy and 3D conformal radiotherapy with adjuvant chemotherapy for patients with rectal cancer in Siriraj Hospital. J Thai Assoc Radiat Oncol. 2021 Sep 9;27(2):R27–42.

Pimchanok Thongcumjan, Pusda Pukdeekumjorn, Tharinee Phetcharat, Ongart Somintara. ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยศัลยกรรม หอผู้ป่วย 3ก : โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง. Srinagarind Med J. 2020 Feb 21;35(1):66–71.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-30