ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้สูงอายุที่ทำผ่าตัดกระดูกสะโพก ในโรงพยาบาลสิงห์บุรี

ผู้แต่ง

  • ปราณี มีหาญพงษ์ โรงพยาบาลสิงห์บุรี
  • สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • ศศิธร รุจนเวช
  • กรรณิการ์ ฉัตรดอกไม้ไพร

คำสำคัญ:

ภาวะแทรกซ้อน, ผู้สูงอายุ, ผ่าตัดกระดูกสะโพก

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้สูงอายุที่ทำผ่าตัดกระดูกสะโพก โรงพยาบาลสิงห์บุรี

รูปแบบและวิธีวิจัย : การวิจัยแบบศึกษาย้อนหลังเก็บข้อมูลจากเวชระเบียนผู้ป่วยที่ทำผ่าตัดกระดูกสะโพกจำนวน 73 ราย ระหว่างเดือนตุลาคม 2561 ถึง กันยายน 2563 ใช้แบบบันทึกข้อมูลที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติถดถอยโลจิสติก

          ผลการศึกษา : ผู้ป่วยที่มีอายุ 80 ปีขึ้นไป มีโอกาสเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนเป็น 13.72 เท่า (OR = 13.72, 95% CI 2.31, 81.38) ของผู้สูงอายุที่ทำผ่าตัดกระดูกสะโพกที่มีอายุ      60 – 69 ปี  ผู้ป่วยที่มีโรคร่วมมากกว่า 4 โรคมีโอกาสเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนเป็น 8.47 เท่า (OR = 8.47 , 95% CI 1.57, 45.60) ของผู้สูงอายุที่มีโรคร่วมน้อยกว่า 4 โรค  ผู้ป่วยที่มีฮีโมโกลบิน (Hb) มากกว่า 10%  มีโอกาสเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลงร้อยละ 87  ผู้ป่วยที่มีดัชนีมวลกาย ≥ 30 มีโอกาสเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อนเป็น 40.46 เท่า (OR = 40.46, 95% CI 2.08, 784.39) ของผู้สูงอายุที่มีดัชนีมวลกาย ≤ 24.9

สรุปผลการศึกษา : อายุ จำนวนโรคร่วม ฮีโมโกลบิน และดัชนีมวลกาย เป็นปัจจัยที่ร่วมกันทำนายภาวะแทรกซ้อนในผู้สูงอายุที่ทำผ่าตัดกระดูกสะโพกได้ร้อยละ 54  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05

References

Cauley JA, Chalhoub D, Kassem AM, Fuleihan GE-H. Geographic and ethnic disparities in osteoporotic fractures. Nat Rev Endocrinol. 2014;10(6):338-51.

Marsh D, Akesson K, Beaton D, Bogoch E, Boonen S, Brandi M-L, et al. Coordinator-based systems for secondary prevention in fragility fracture patients. Osteoporos Int. 2011;22(7):2051-65.

Kanis J, Odén A, McCloskey E, Johansson H, Wahl D, Cooper C. IOF Working Group on epidemiology and quality of life. A systematic review of hip fracture incidence and probability of fracture worldwide. Osteoporos Int. 2012;23(9):2239-56.

Zagra L. Advances in hip arthroplasty surgery: what is justified? EFORT Open Rev. 2017;2(5):171-8.

ศิวลาภ สุขไพบูลย์วัฒน์. บทบาทของผู้สูงอายุต่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศไทย.

วารสารศรีนคริทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา. 2560; 9(17): 176-91.

จิตติมา บุญเกิด. การหกล้มในผู้สูงอายุการป้องกันและดูแลรักษาทางเวชศาสตร์ครอบครัว. กรุงเทพฯ: สหมิตรพัฒนาการพิมพ์ (1992) จำกัด; 2561

Sucharitpongpan W, Daraphongsataporn N, Saloa S, Philawuth N, Chonyuen P, Sriruanthong K, et al. Epidemiology of fragility hip fractures in Nan, Thailand. Osteoporos Sarcopenia. 2019;5(1):19-22.

Pradeep AR, KiranKumar A, Dheenadhayalan J, Rajasekaran S. Intraoperative lateral wall fractures during dynamic hip screw fixation for intertrochanteric fractures-Incidence, causative factors and clinical outcome. Injury. 2018 Feb 1;49(2):334-83.

Malik AT, Quatman CE, Phieffer LS, Ly TV, Khan SN. Incidence, risk factors and clinical impact of postoperative delirium following open reduction and internal fixation (ORIF) for hip fractures: an analysis of 7859 patients from the ACS-NSQIP hip fracture procedure targeted database. Eur J Orthop Surg Traumatol. 2019 Feb;29(2): 435-46.

Ziegler P, Schlemer D, Flesch I, Bahrs S, Stoeckle U, Werner S, Bahrs C. Quality of life and clinical-radiological long-term

results after implant-associated infections in patients with ankle fracture: a retrospective matched-pair study. J Orthop Surg

Res. 2017 Dec;12(1):1-7.

Brox WT, Roberts KC, Taksali S, Wright DG, Wixted JJ, Tubb CC, Patt JC, Templeton KJ, Dickman E, Adler RA, Macaulay WB. The American academy of orthopaedic surgeons evidence-based guideline on management of hip fractures in the elderly. J Bone Joint Surg Am. 2015 Jul 15;97(14):1196-99.

หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกชาย - หญิง. รายงานสถิติผู้ป่วยหอผู้ป่วยหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกชาย – หญิง. กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลสิงห์บุรี. (เอกสารไม่ตีพิมพ์); 2564.

Mariconda M, Galasso O, Costa GG, Recano P, Cerbasi S. Quality of life and

functionality after total hip arthroplasty: a long-term follow-up study. BMC

Musculoskelet Disord. 2011 Dec;12(1):1-10.

Sydney W, Jo EB. Factors affecting post surgery hip fracture recovery. Journal of Orthopaedics, Trauma and Rehabilitation. 2014 Dec;18(2):54-8.

Cannata F, Laudisio A, Ambrosio L, Vadalà G, Russo F, Zampogna B, Napoli N, Papalia R. The Association of Body Mass Index with surgical time is mediated by comorbidity in patients undergoing total hip arthroplasty. Journal of Clinical Medicine. 2021 Jan;10(23):5600.

Correa-Valderrama A, Stangl-Herrera W, Echeverry-Vélez A, Cantor E, Ron-Translateur T, Palacio-Villegas JC. Relationship between body mass index and complications during the first 45 days after primary total hip and knee replacement: a single- center study from South America. Clin Orthop Surg. 2019 Jun 1;11(2):159-63.

Björkelund KB, Hommel A, Thorngren KG, Gustafson L, Larsson S, Lundberg D. Reducing delirium in elderly patients with hip fracture: a multi‐factorial intervention study. Acta Anaesthesiol Scand. 2010 Jul;54(6):678-88.

Sali E, Marmorat JL, Gaudot F, Nich C. Perioperative complications and causes of 30-and 90-day readmission after direct anterior

approach primary total hip arthroplasty. J Orthop. 2020 Jan;1;17:69-72.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-29