ผลการรักษามะเร็งลำไส้ตรงและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด
คำสำคัญ:
มะเร็งลำไส้ตรง, ผลการรักษา, ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง, โรงพยาบาลร้อยเอ็ดบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : ศึกษาผลการรักษามะเร็งลำไส้ตรงและปัจจัยที่สัมพันธ์กับผลการรักษาในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด
รูปแบบและวิธีวิจัย : รูปแบบการวิจัย (Research design) เป็นการศึกษาวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytic study by retrospective data collection) โดยเก็บข้อมูลผู้ป่วยและการรักษาจากเวชระเบียน ฐานข้อมูลการวางแผนการฉายรังสี (Eclipse Treatment Planning System) และการสอบถามอาการทางโทรศัพท์ เก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยมะเร็งลำไส้ตรงตั้งแต่ มกราคม 2554 - ธันวาคม 2564
ผลการศึกษา : ผลการศึกษาพบว่า Serum CEA มากกว่า 2.5 ng/dL, Post op CMT, Post-op CCRT, Tumor grade, Stage, Resection margin, สัมพันธ์กับ overall survival อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและพบว่าปัจจัยที่สัมพันธ์กับ Disease free survival ได้แก่ Serum CEA > 2.5 ng/dL , Pre-op CCRT, Post-op CCRT, Post-op CMT, Surgery, Tumor grade, T stage, Resection margin สัมพันธ์กับ disease free survival อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติอัตรารอดชีวิต 2 ปี เป็นร้อยละ 76.0 อัตรารอดชีวิต 5 ปี เป็นร้อยละ 13.0
สรุปผลการศึกษา : จากผลการศึกษานี้ทำให้ทราบว่าผลการรักษามะเร็งลำไส้ตรงที่โรงพยาบาลร้อยเอ็ดอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานสากลที่ยอมรับได้ และนอกจากนั้นทราบถึงปัจจัยที่สัมพันธ์กับ overall survival และ disease free survival นำไปสู่การเลือกการรักษาที่ดียิ่งขึ้น เพื่อประโยชน์ต่อผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ตรงที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลร้อยเอ็ดต่อไป
References
Kanokphan Phansranoi, Supot Kamsa-ard, Nut Boonnithi, Nintita Sripaiboonkij Thokanit, Naowarat Maneenin. ไส้ตรงหลังการวินิจฉัยที่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา. Srinagarind Med J. 2021 Apr 7;36(2):222–8.
Juan A. Díaz-González, Felipe A. Calvo, Javier Cortés, José L. García-Sabrido, Marina Gómez-Espí, Emilio Del Valle, et al. Prognostic factors for disease-free survival in patients with T3-4 or N+ rectal cancer treated with preoperative chemoradiation therapy, surgery, and intraoperative irradiation. Int J Radiat Oncol Biol Phys. 2006 Mar 15;64(4):1122–8.
Jean-François Bosset, Laurence Collette, Gilles Calais, Laurent Mineur, Philippe Maingon, Ljiljana Radosevic-Jelic, et al. Chemotherapy with preoperative radiotherapy in rectal cancer. N Engl J Med. 2006 Sep 14;355(11):1114–23.
รัชนก สิทธิโชติวงศ์. ผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยโรคมะเร็งลำไส้ระยะลุกลาม หรือกลับเป็นซ้ำที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัด. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์. 2009;24(1):139–49
Jose G. Guillem, David B. Chessin, Alfred M. Cohen, Jinru Shia, Madhu Mazumdar, Warren Enker, et al. Long-term oncologic outcome following preoperative combined modality therapy and total mesorectal excision of locally advanced rectal cancer. Ann Surg. 2005 May;241(5):829–36; discussion 836-838.
van Zoggel DMGI, Bosman SJ, Kusters M, Nieuwenhuijzen G a. P, Cnossen JS, Creemers GJ, et al. Preliminary results of a cohort study of induction chemotherapy-based treatment for locally recurrent rectal cancer. Br J Surg. 2018 Mar;105(4):447–52.
ภานุวัฒน์ ขันธสะอาด. โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ในโรงพยาบาลมหาสารคาม. วารสารโรงพยาบาล มหาสารคาม. 2015;12(2):101–11.
Gerard J-P, Chapet O, Nemoz C, Hartweig J, Romestaing P, Coquard R, et al. Improved sphincter preservation in low rectal cancer with high-dose preoperative radiotherapy: the lyon R96-02 randomized trial. J Clin Oncol Off J Am Soc Clin Oncol. 2004 Jun 15;22(12):2404–9.
Prangrawee Sangchan. Outcomes of preoperative radiotherapy in rectal cancer: a single institute experience. J Thai Assoc Radiat Oncol. 2021 Jun 18;27(1):R67–80.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลมหาสารคาม