การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อเตรียมผู้ป่วยสูงอายุที่มารับบริการด้านวิสัญญีเพื่อผ่าตัด ในโรงพยาบาลมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • ปุณญิสา ศรีสาร โรงพยาบาลมหาสารคาม 121969
  • ชนะพล ศรีฤาชา
  • นฤมล สินสุพรรณ

คำสำคัญ:

การพัฒนา, แนวปฏิบัติการพยาบาล, การเตรียมผู้ป่วยด้านวิสัญญี, ผู้ป่วยสูงอายุ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อเตรียมผู้ป่วยสูงอายุ ที่มารับบริการด้านวิสัญญี เพื่อผ่าตัดในโรงพยาบาลมหาสารคาม

รูปแบบและวิธีวิจัย : เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม ถึง 30 พฤศจิกายน 2565  แบ่งเป็น
3 ระยะคือ เตรียมการ ปฏิบัติการและพัฒนา ประเมินผล  คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างได้ 90 คนจากตารางสำเร็จรูปของ Krejcie & Morgan เจาะจงพยาบาลวิชาชีพแผนกศัลยกรรม วิเคราะห์ด้วยสถิติ Paired simple t-test

ผลการวิจัย : พบว่า หลังการพัฒนามีความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติการพยาบาลการเตรียมผู้ป่วยสูงอายุ ที่มารับบริการด้านวิสัญญีเพื่อผ่าตัด คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ P-Value ≤.001 (95% CI 2.39-3.59) ค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจเท่ากับ 4.46 อุบัติการณ์การงดและเลื่อนผ่าตัดเนื่องจากไม่พร้อมลดลงจากร้อยละ 4.89  เป็น 0.65 

สรุปผลการวิจัย : คะแนนความรู้เฉลี่ยหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ P-Value ≤.001 ความพึงพอใจมากที่สุด อุบัติการณ์การงดและเลื่อนผ่าตัดการเตรียมผู้ป่วยสูงอายุไม่พร้อมลดลง

References

ศรีนวล องค์ประเสริฐ ธนัญญาณ์ หล่อกิตติ์ชนม์. การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดตามมาตรฐานการตรวจสอบความปลอดภัยตามแนวปฏิบัติขององค์การอนามัยโลก โรงพยาบาลราชวิถี. วารสารกรมการแพทย์. 2561;43(3):125-130.

Staheli B, Ron Do B. Anesthetic Considerations In The Geriatric Population [internet]. 2018 [Citetd 2022 April 22] Available: fromhttps://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK572137/

Byung-Gun Lim , l-Ok Lee. Study of anesthesia in elderly patients [internet]. 2021 [Citetd 2022 April 20] Available: file https://www.google.com/search?q=Byung-Gun+Lim

ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับคลินิกประเมินและเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการ ระงับความรู้สึกที่ให้บริการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับและการผ่าตัดแผลเล็ก [อินเตอร์เน็ต]. 2562. [เข้าถึงเมื่อ 12 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.rcat.org/cpg.

ธันยมัย ปุรินัย. การพัฒนาแนวทางการเตรียมผู้ป่วยเพื่อลดอุบัติการณ์ งดและลดการเลื่อนผ่าตัดในโรงพยาบาลศรีสะเกษ. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2564;30(3):521-530.

ลัดดาวัลย์ พรรณสมัยรูปแบบการเตรียมความพร้อมผู้ป่วยสูงอายุก่อนให้การระงับความรู้สึก เพื่อผ่าตัด ของวิสัญญีพยาบาล. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม. 2560;14(3):76-89.

อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์. ศึกษาสถานการณ์ผู้สูงอายุประเทศไทย: ปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. 2563;10(2):46-58.

กลุ่มงานวิสัญญีวิทยาโรงพยาบาลมหาสารคาม. สถิติกลุ่มงานวิสัญญีวิทยาโรงพยาบาลมหาสารคาม 2560-2565. ประชุมประจำปีงบประมาณ 2565 กลุ่มงานวิสัญญีวิทยาโรงพยาบาลมหาสารคาม; 10 ตุลาคม 2565; โรงพยาบาลมหาสารคาม.มหาสารคาม; 2565.

สำนักการพยาบาล กรมการแพทย์.มาตรฐานการพยาบาลด้านวิสัญญี [อินเทอร์เน็ต]. 2551 [เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.nurseanesth.org/productdata/1339 299051.pdf

ศจีรัตน์ โกศล. (2565) การพัฒนารูปแบบการจัดการการเฝ้าระวังการติดเชื้อในกระแสเลือดในผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวของโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. 2565;14(1):97-111.

วันเพ็ญ วิศิษฏ์ชัยนนท์. การพัฒนารูปแบบการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในคลินิกยาต้านไวรัส โรงพยาบาลหนองคาย. วารสารการพยาบาลสุขภาพ. 2563;3(2):25-34.

วัลลภ รัฐฉัตรานนท์. การหาขนาดตัวอย่างที่เหมาะสมสำหรับการวิจัย: มายาคติในการใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน่ และเครทซี-มอร์แกน. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา. 2562;8(1):11-28.

Bloom, B. Mastery learning. New York: Holt, Rinehart & Winston; 1971.

เพชรรัตน์ ศิริสุวรรณ. ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ตำบลสิงห์โคกอำเภอเกษตรวิสัยจังหวัดร้อยเอ็ด. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลพระบรมราชชนนีสุรินทร์. 2561; 8(1):45-58.

อารยา พลสยม. ศึกษาความพึงพอใจในบริการงานพยาบาลวิสัญญีของผู้ป่วย ผ่าตัดระบบประสาทไขสันหลัง สถาบันประสาทวิทยา. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล. 2562;25(1):88-107.

อารยา พลสยม. ศึกษาความพึงพอใจในบริการงานพยาบาลวิสัญญีของผู้ป่วย ผ่าตัดระบบประสาทไขสันหลังสถาบันประสาทวิทยา. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล. 2562;25(1):88-107.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-24