แนวทางการพยาบาลมารดาและทารกแรกเกิดในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา COVID-19 สู่ยุคปกติวิถีใหม่ : โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • อุมาภรณ์ กั้วสิทธิ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ศิริรัตน์ ศรีโพลา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • อัจฉรา ชัยชาญ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ชลธิลา ราบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • เด่นละออง นาเสงี่ยม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ปาลิตา พูลเพิ่ม โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ชุติมา สืบสุนทร โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

แนวทางการมารดาและทารกแรกเกิด, ผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 19

บทคัดย่อ

          วัตถุประสงค์บทความวิชาการนี้เพื่อแสดงแนวทางการพยาบาลมารดาและทารกในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 19 สู่ยุคปกติวิถีใหม่ของโรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในช่วงสามปีที่ผ่านมาส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของประชาชนอย่างมากทั้งในแง่สุขภาพและการปรับตัวเพื่อการดำเนินชีวิตในยุคปกติวิถีใหม่ โดยเฉพาะกลุ่มมารดาและทารกที่ถือว่าเป็นกลุ่มที่ต้องให้ความสำคัญในการดูแล เนื่องจากการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดของมารดาและทารก ดังนั้นแนวทางการพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อCOVID-19 ที่เหมาะสมและแนวปฏิบัติที่ชัดเจนสำหรับทีมสุขภาพ  ได้แก่ การคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง การดูแลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกรณีที่ต้องนอนพักในโรงพยาบาล การเตรียมตัวสำหรับบุคลากรทางการแพทย์เมื่อสตรีตั้งครรภ์เข้าสู่ระยะคลอด ตลอดจนการดูแลมารดา ทารกในระยะคลอดในรายที่มีการติดเชื้อ  ดังนั้นการดูแลมารดาและทารกจะทำให้การติดเชื้อลดลง และสตรีตั้งครรภ์จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปลอดภัยลดภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์การดำเนินการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปอย่างปลอดภัยทุกระยะรวมถึงมารดา ทารกและครอบครัวสามารถดำเนินชีวิตในยุคปกติวิถีใหม่อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

References

ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัย การดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และ บุคลากรสาธารณสุข. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 25. วันที่ 29 กันยายน 2565. [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 18 พฤษภาคม 2565] เข้าถึงได้จาก: https://www.thainapci.org/2021/2022/09/29/

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (COVID-19) หรือโควิด 19 สำหรับประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยง[อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/int_ protection/int_protection_ 030164.pdf.

Karimi-Zarchi M, Neamatzadeh H, Dastgheib SA, Abbasi H, Mirjalili SR, Behforouz A, Ferdosian F, Bahrami R. Vertical transmission of coronavirus disease 19 (COVID-19) from infected pregnant mothers to neonates: a review. Fetal and pediatric pathology. 2020;3(39):246-50.

Urairak B. The Management of Behavior Considerations for Acceptance and Uptake of COVID-19 Vaccines Among Nurses in Thailand. Academy of Strategic Management Journal 2021;20:1-8.

Lin Y, Hu Z, Zhao Q, Alias H, Danaee M, Wong LP. Understanding COVID-19 vaccine demand and hesitancy: A nationwide online survey in China. PLoS neglected tropical diseases. 2020;14 (12):e0008961.

Chen N, Zhou M, Dong X, Qu J, Gong F, Han Y, Qiu Y, Wang J, Liu Y, Wei Y, Yu T. Epidemiological and clinical characteristics of 99 cases of 2019 novel coronavirus pneumonia in Wuhan, China: a descriptive study. The Lancet. 2020;395(10223):507- 13.

Amorim MM, Takemoto ML, da Fonseca EB. Maternal deaths with coronavirus disease 2019: a different outcome from low-to middle-resource countries? American Journal of Obstetrics & Gynecology. 2020;223(2):298-9.

Panahi L, Amiri M, Pouy S. Risks of novel coronavirus disease (COVID-19) in pregnancy; anarrative review. Archives of academic emergency medicine. 2020;8(1):e34.

Rasmussen SA, Smulian JC, Lednicky JA, Wen TS, Jamieson DJ. Coronavirus disease 2019 (COVID-19) and pregnancy: what obstetricians need to know. American Journal of Obstetrics and Gynecology. 2020;222(5):415-26.

Favre G, Pomar L, Qi X, Nielsen-Saines K, Musso D, Baud D. Guidelines for pregnant women with suspected SARS-CoV-2 infection. The Lancet Infectious Diseases. 2020;20 (6):652-3.

Yan R, Zhang Y, Li Y, Xia L, Guo Y, Zhou Q. Structural basis for the recognition of SARS-CoV-2 by full-length human ACE2. Science. 2020;367(6485):1444-8.

Yang X, Yu Y, Xu J, Shu H, Liu H, Wu Y, Zhang L, Yu Z, Fang M, Yu T, Wang Y. Clinical course and outcomes of critically ill patients with SARS-CoV-2 pneumonia in Wuhan, China: a single-centered, retrospective, observational study. The Lancet respiratory medicine. 2020;8(5):475-81.

Vintzileos WS, Muscat J. Hoffmann E, John NS, Vertichio R, Vintzileos AM, & Vo D. Screening all pregnant women admitted to labor and delivery for the virus responsible for coronavirus disease 2019. American Journal of Obstetrics and Gynecology. 2020;223(2):284–286. https://doi.org/10.1016/j.ajog.2020.04.024

Zaigham M, Andersson O. Maternal and perinatal outcomes with COVID‐19: a systematic review of 108 pregnancies. Acta obstetricia et al., Gynecologica Scandinavica. 2020;99(7):823-9.

Stepowicz A, Wencka B, Bien'kiewicz J, Horzelski W, Grzesiak M. Stress and Anxiety Levels in Pregnant and Post-Partum Women during the COVID-19 Pandemic. International Journal of environmental research and public health. 2020; 17(24):9450. https://doi.org/10.3390/ijerph17249450

Garcia-Silva J, Caracuel A, Lozano-Ruiz A, Alderdice F, Lobel M, Perra O, Caparros-Gonzalez RA. Pandemic-related pregnancy stress among pregnant women during the COVID-19 pandemic in Spain. Midwifery. 2021;103:103- 163. https://doi.org/10.1016/j.midw.2021.103163

Lebel C, MacKinnon A, Bagshawe M, Tomfohr-Madsen L, & Giesbrecht G. Elevated depression and anxiety symptoms among pregnant individuals during the COVID-19 pandemic. Journal of affective disorders. 2020;277:5–13. https://doi.org/10.1016/j.jad.2020.07.126

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-17