การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บทรวงอกภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด : กรณีศึกษา
คำสำคัญ:
การบาดเจ็บทรวงอก, ภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด, การพยาบาลบทคัดย่อ
ภาวะมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอดที่เกิดจากบาดเจ็บทรวงอก เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในห้องฉุกเฉิน ซึ่งเป็นภาวะที่คุกคามชีวิตและส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิตภายหลังการบาดเจ็บได้ การบาดเจ็บที่ทรวงอกมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงต่ออวัยวะที่สำคัญของร่างกาย ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้องและเร่งด่วน เพื่อให้การรักษาพยาบาลมีประสิทธิภาพ ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ พยาบาลเป็นบุคลากรที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วย พยาบาลจึงจำเป็นต้องมีทักษะการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่การประเมินสภาพแรกรับ และให้การรักษาพยาบาลได้ถูกต้อง รวดเร็ว ตามความเหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย เพื่อสร้างระบบความปลอดภัยให้กับผู้ป่วยและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
References
Corinna L & Koryllos A. Management of chest trauma. Journal of Thoracic Disease. 2017;9(3):172-177.
วีรพล แก้วแปงจันทร์, สุภารัตน์ วังศรีคูณและอัจฉรา สุคนธสรรพ์. สถานการณ์การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บและการจัดการก่อนการเสียชีวิต. พยาบาลสาร. 2561;45(3):35-45.
สหัส บิลอะหลี. ผลของโปรแกรมการจัดการความปวดโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่อผลลัพธ์การจัดการความปวดในผู้ป่วยบาดเจ็บทรวงอก [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่]. สงขลา: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสงลานครินทร์; 2560.
ประภา แก้วพวง. การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บทรวงอกที่มีภาวะเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปวดและกระดูกหัก. วารสาร รพศ/รพท เขต 4. 2557;16(3):235-241. 5. วุฒิชัย ธนาพงศธรและธวัชชัย ตุลวรรธนะ. ตำราศัลยศาสตร์และอาการแสดงของโรคศัลยกรรม สำหรับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 3. สมุทรปราการ: สินทวีกิจ พริ้นติ้ง; 2558.
กัลป์ชนา ศรีพรหม. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพปอดในผู้ป่วยบาดเจ็บทรวงอกที่ใส่ท่อระบายทรวงอก [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่]. ชลบุรี: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยบูรพา; 2562.
อรอนงค์ เนียมเจียม. การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บหัวใจและทรวงอก. ใน รัชนี เบญจธนัง, พิมพ์จิตร์ กาญจนสินธิ์, ปราณี ทองใส และสุมินตรา สินงธ์ศิริมานะ, บรรณาธิการ. การพยาบาลศัลยศาสตร์วิกฤติ. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลิฟวิ่ง; 2558. หน้า 63 - 80.
สุวรัตน์ ภู่เพ็ง. ผลของการใช้แนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบในงานอุบัติหตุและฉุกเฉิน. กระบี่เวชสาร. 2565;5(1):27-39.
T.J. Olgers, R.S. Dijkstra, A.M. Drost-de Klerck &. J.C. ter Maaten. The ABCDE primary assessment in the emergency department in medically ill patients: an observational pilpt study. The Netherlands journal of Medicine. 2017;75(3):106-111.
ฮิชาม อาแวและอามานี แดมะยุ. การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุและระหว่างการนำส่งโดยพนักงานฉุกเฉินทางการแพทย์. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินร์. 2564;13(3):459-472.
H.M. Mohammed. Chest tube care in critically ill patient: A comprehensive review. Egyptian Journal of chest Disease and Tuberculosis. 2015;64:849-855.
รภัทรภร แก้วล้อม. การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บช่องท้อง ร่วมกับมีเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด. โรงพยาบาลสิงห์บุรีเวชสาร. 2563;29(2):39-52.
วิมล อิ่มอุไร. การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ. วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล. 2562;4(1):54-67.
เพลินตา คำหลาย. การพยาบาลผู้ป่วยวัณโรคที่มีภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน : กรณีศึกษา 2 ราย. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม. 2563;17(2):162-173.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลมหาสารคาม