บทบาทของพยาบาลในการป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยวิกฤตทางศัลยกรรมระบบประสาท

ผู้แต่ง

  • วุฒิชัย สมกิจ วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก มหาสารคาม
  • วไลพร ปักเคระกา โรงพยาบาลมหาสารคาม
  • ธนิศรา นามบุญเรือง โรงพยาบาลมหาสารคาม
  • รุ่งนภา ธนูชาญ โรงพยาบาลมหาสารคาม
  • สุชัญญ์ญา เดชศิริ โรงพยาบาลมหาสารคาม
  • นิศมา แสนศรี โรงพยาบาลมหาสารคาม
  • จีรพร อินนอก โรงพยาบาลมหาสารคาม

คำสำคัญ:

แผลกดทับ, ผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท, บทบาทพยาบาล

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อนำเสนออุบัติการณ์เกิดแผลกดทับ กลไกทางสรีรวิทยาการเกิดแผลกดทับ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยวิกฤตทางศัลยกรรมระบบประสาท การดูแลและป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมระบบประสาท รวมถึงบทบาทของพยาบาลในการป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยวิกฤตทางศัลยกรรมระบบประสาท โดยการรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ ความรู้จากหลักฐานเชิงประจักษ์ นำเสนอในรูปแบบบทความวิชาการ เพื่อให้หน่วยงานหรือพยาบาลสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตทางศัลยกรรมระบบประสาทต่อไป

References

กองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการจัดเก็บตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลประจำปีงบประมาณ 2563 [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 15 ตุลาคม 2566] เข้าถึงได้จาก https://skko.moph.go.th/ dward/document_file /qa/common_form_upload_file/20191113141226_578732059.pdf.

Al Aboud AM, Manna B. Wound pressure injury management. .Treasure Island (FL): Stat Pearls Publishing; 2023. 3. National Pressure Ulcer Advisory Panel (NPUAP). Announces a chang in terminology from pressure ulcer to pressure injury and update the stages of pressure injury. Apr 13; 2016.

Feigin VL, Brainin M, Norrving B, Martins S, Sacco RL, Hacke W et al. World Stroke Organization (WSO): Global stroke fact sheet 2022. Int J Stroke. 2022;17(1):18-29.

Dhandapani M, Dhandapani S, Agarwal M, Mahapatra AK. Pressure ulcer in patients with severetraumatic brain injury: significant factors and association with neurological outcome. J Clin Nurs. 2014;23(7-8):1114-9.

Osis SL, Diccini S. Incidence and risk factors associated with pressure injury in patients with traumatic brain injury. Int J Nurs Pract. 2020;26(3): 12821.

อุบลรัตน์ วิสุทธินันท์, กฤตพัทธ์ ฝึกฝน. ผลการใช้แนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะระดับ ปานกลางและรุนแรงต่อการเกิดแผลกดทับและภาวะปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ. วารสารวิจัยการพยาบาลและสุขภาพ. 2559;17(3): 33-41

สังวาลย์ ธนะแก้ว ศศิธร พิชัยพงศ์. การพัฒนาแนวทางปฏิบัติการป้องกันแผลกดทับในผู้ป่วยศัลยกรรมชายโรงพยาบาลลำพูน. วารสารสาธารณสุขล้านนา. 2557;10(3):173–182.

Alderden J, Rondinelli J, Pepper G, Cummins M, Whitney J. Risk factors for pressure injuries among critical care patients: A systematic review. Int J Nurs Stud. 2017;71:97- 114.

ศศิธร พิชัยพงศ์. วิเคราะห์สถานการณ์การป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยสูงอายุบาดเจ็บสมองที่ ได้รับการผ่าตัด.หอผู้ป่วยศัลยกรรมชายโรงพยาบาลลำพูน [ปริญญานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์ มหาบัณฑิต]. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2557.

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับที่ 4. นนทบุรี: หนังสือดีวันจำกัด; 2561.

Farid J, Amin R, Sheikh MA, Irfan M, AlRuwaili R, Alruwaili M, et al. Prevalence and prediction of pressure ulcers in admitted stroke patients in a tertiary care hospital. J Tissue Viability. 2022;31(4):768-75.

Afzali Borojeny L, Albatineh AN, Hasanpour Dehkordi A, Ghanei Gheshlagh R. The incidence of pressure ulcers and its associations in different wards of the hospital: a systematic review and metaanalysis. Int J Prev Med. 2020;5(11):171

ยุวดี เกื้อกูลวงศ์ชัย. การพัฒนาแนวทางปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับหอผู้ป่วยหนักอายุรกรรมโรงพยาบาลสมุทรปราการ. วารสาร Mahidol R2R e-Journal. 2564;8(1):1-11. 15. สุชาดา นิลบรรพต อัมพรพรรณ ธีราบุตร. ปัจจัยทำนายการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยวิกฤต. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ. 2562;42(3):1-10.

พิทยาภรณ์ นวลสีทอง, ชฎาพร เขตนิมิต, ทศพร เมืองสถิต. ผลของการใช้แป้งทานาคาในการป้องกันแผลกดทับระดับ 1 ในผู้สูงอายุหอผู้ป่วยศัลยกรรมชายโรงพยาบาลวชิระภูเก็ต. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11. 2560;31(1):179-189

China Neurosurgical Critical Care Specialist Council (CNCCSC); Zhao JZ, Zhou DB, Zhou LF, Wang RZ, Zhang JN, et al. The experts consensus for patient management of neurosurgical critical care unit in China (2015). Chin Med J (Engl).2015;128(9):1252-67.

Santafé Colomina M, Arikan Abelló F, Sánchez Corral A, Ferrer Roca R. Optimization of the neurosurgical patient in Intensive Care. Med Intensiva (Engl Ed). 2019;43(8):489-96

สมประสงค์ ทองมีสี. Thailand trauma statistics in adult (age 16-60 yr) ประจำปี 2564. เลขาธิการสมาคมแพทย์อุบัติเหตุแห่งประเทศไทย. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 15 ตุลาคม 2566] เข้าถึงได้จาก https://weblink.crhospital.org/crhfileload/cDownload.php/?DL_ID=1968&DL_ NAME=TEAF256504272018203421.pdf

Wang S, Zou XL, Wu LX, Zhou HF, Xiao L, Yao T, et al. Epidemiology of intracerebral hemorrhage: a systematic review and meta-analysis. Front Neurol. 2022;13:915813.

สมศักดิ์ เทียมเก่า. สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมอง. วารสารประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย. 2564;37(4):54–60.

Prins M, Greco T, Alexander D, Giza CC. The pathophysiology of traumatic brain injury at a glance. DisModel Mech. 2013;6(6):1307-15.

Hickey JV. The clinical practice of neurological and neurosurgical nursing. New York: Lippincot Williams & Wilkin; 2014.

Mrozek S, Vardon F, Geeraerts T. Brain temperature: physiology and pathophysiology after brain injury. Anaesthesia Research and Pract. 2012; 989487.

Tavazzi B, Signoretti S, Lazzarino G, et al. Cerebral oxidative stress and depression of energy metabolism correlate with severity of diffuse brain injury in rats. Neurosurgery. 2005;56(3):582-9.

วุฒิชัย สมกิจ ชัจคเณค์ แพรขาว. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะไข้ ในผู้ป่วยสมองบาดเจ็บ ระยะ 72 ชั่วโมงแรกและได้รับการผ่าตัดสมอง. วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 2562;14(2):33-54

ศิริกัญญา อุสาหพิริิยกล, ศากุล ช่างไม้, วีนัส ลีฬหกุล. ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยสูงอายุ กลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะพึ่งพาต่อความสามารถในการลงมือปฏิบัติการดูแลเพื่อป้องกันแผลกดทับ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา. 2561;27(4):21-31.

ยุวดี เกตสัมพันธ์, อัญชนา ท้วมเพิ่มผล, นภาพร อภิรดีวจีเศรษฐ์, จุฬาพร ประสังสิต. แผลกดทับ. ในยุวดี เกตสัมพันธ์, อัญชนา ท้วมเพิ่มผล, นภาพร อภิรดีวจีเศรษฐ์, และจุฬาพร ประสังสิต(บ.ก.), การดูแลแผลกดทับ:ศาสตร์และศิลปะทางการพยาบาล. กรุงเทพฯ: งานพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลศิริราช; 2552.

จุฬาพร ประสังสิต, กาญจนา รุ่งแสงจันทร์, ยุวรัตน์ ม่วงเงิน. การดูแลแผลหลักฐานเชิงประจักษ์ จากการตรวจสอบและประสบการณ์จากผู้เชี่ยวชาญ = Wound care for nursing : evidence base to practice. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง;2559.

ริณนารา สายเมฆ. การพัฒนาและการประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลเพื่อป้องกัน การเกิดแผลกดทับสำหรับผู้ป่วยสูงอายุในหออภิบาลผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลชุมชน [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต].สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2559.

European Pressure Ulcer Advisory Panel, National Pressure Injury Advisory Panel and Pan Pacific Pressure Injury Alliance. Prevention and treatment of pressure ulcers/injuries: quick reference guide.Emily Haesler (Ed.). EPUAP/NPIAP/PPPIA: 2019.

Cox BJ, Roche S. Vasopressors and development of pressure ulcers in adult critical care patients. AJCC 2015; 24(6):501-10.

Yoon JE, Cho OH. Risk factors associated with pressure ulcers in patients with traumatic brain injuryadmitted to the intensive care unit. Clin Nurs Res. 2022;31(4):648-55.

วุฒิชัย สมกิจ ชัจคเณค์ แพรขาว. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะไข้ ในผู้ป่วยสมองบาดเจ็บ ระยะ 72 ชั่วโมงแรกและได้รับการผ่าตัดสมอง. วารสารประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 2562;14(2): 33-54

ชยพล ศิรินิยมชัย. การจัดการแผลเท้าเบาหวาน: บทบาทของพยาบาล. วารสารสมาคมพยาบาล แห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ. 2561;24(1):1-14.

Liang M, Chen Q, Zhang Y, He L, Wang J, Cai Y, Li L. Impact of diabetes on the risk of bedsore inpatients undergoing surgery: an updated quantitative analysis of cohort studies. Oncotarget. 2017;8(9): 14516-24.

Lima Serrano M, González Méndez MI, Carrasco Cebollero FM, Lima Rodríguez JS. Risk factors for pressure ulcer development in intensive care units: a systematic review. Med Intensiva. 2017;41(6): 339-46.

วไลพร ปักเคระกา, นิสากร วิบูลชัย, วุฒิชัย สมกิจ, สุชัญญ์ญา เดชศิริ, จีรพร อินนอก, สิรินารถ ประพาศพงษ์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยวิกฤตทางศัลยกรรมระบบประสาท. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม. 2565;19(2):140-53.

Nassaji M, Askari Z, Ghorbani R. Cigarette smoking and risk of pressure ulcer in adult intensive care unit patients. Int J Nurs Pract. 2014;20(4):418-23.

Bergstrom N, Braden BJ, Laguzza A, Holman V. The braden scale for predicting pressure sore risk. Nurs Res. 1987 ;36(4):205-10

Lovegrove J, Fulbrook P, Miles S. International consensus on pressure injury preventative interventions by risk level for critically ill patients: a modified delphi study. Int Wound J. 2020;17(5):1112-27

นิภาพร บุตรสิงห์. การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน.วารสารสภาการพยาบาล. 2562;34(3):15-29.

รุจาภา เจียมธโนปจัย สุวิมล แสนเวียงจันทร์. แนวปฏิบัติทางการพยาบาลในการป้องกันแผลกดทับ. วารสารพยาบาล. 2561;67(4):53-61

Black J, Alves P, Brindle CT, Dealey C, Santamaria N, Call E, Clark M. Use of wound dressings to enhance prevention of pressure ulcers caused by medical devices. Int Wound J. 2015;12(3):322-7

สายฝน ไทยประดิษฐ์, วิภา แซ่เซี้ย เพลินพิศ ฐานิวัฒนานนท์. ผลของโปรแกรมควบคุมความชื้นของ ผิวหนังต่อความสมบูรณ์แข็งแรงของผิวหนัง และการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยสูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อ การเกิดแผลกดทับ. วารสารสภาการพยาบาล. 2557;29(1):43-54.

Berlowitz DR, Brandeis GH, Anderson J, Du W, Brand H. Effect of pressure ulcers on the survival of long-term care residents. J Gerontol A Biol Sci Med Sci. 1997 Mar;52(2): M106-10

Graves N, Birrell F, Whitby M. Effect of pressure ulcers on length of hospital stay. Infect Control Hosp Epidemiol. 2005;26(3):293-97

ปฐมวดี สิงห์ดง นิภาพร พากเพียร. การพัฒนามาตรฐานการดูแลผู้ป่วยวิกฤตที่มีแผลกดทับ. วารสารพยาบาลศิริราช. 2551;2(1):66-73.

Registered Nurses’ Association of Ontario. End-of-life care during the last days and hours. Toronto, ON: Registered Nurses’ Association of Ontario; 2011.

Pukkaeraka W, Somgit W, Vibulchai N, Dejsiri S. Development of a nursing management model for preventing pressure ulcers among neurosurgical critical patients. JPNC. 2022;33(2):81–98

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). รายงานประจำปี 2555 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). นนทบุรี: สหพัฒนไพศาล; 2556.

ทิพาภรณ์ หาญมนตรี สุทธีพร มูลศาสตร์. คุณภาพบริการแบบมุ่งเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางตาม การรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 1 : รายงานการวิจัย. วารสารพยาบาล. 2557;63(4):49-56.

Paparella D, Whitlock R. Safety of salvaged blood and risk of coagulopathy in cardiac surgery. Semin Thromb Hemost. 2016;42(2):166-71

Australian College of Nursing. Person-centered care: position statement [Internet]. 2014. [cited 2023 October 10] Available from: https://www.acn.edu.au/sites/default/files/advocacy/ submissions/PS_Person-centered_Care_C2.pdf.

Institute of Medicine (US) Committee on Quality of Health Care in America. Crossing the quality chasm: a new health system for the 21st century. Washington (DC). National Academies Press (US); 2001.

สุพรรณี กัณหดิลก, ตรีชฎา ปุ่นสำเริง ชุติมา มาลัย. กลยุทธ์การสอนด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาล. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ. 2560;35(4):34-41. 57. Spencer, LM & Spencer SM. Competence at work: models for superior performance. John Wiley & Sons. New York; 1993 .

อรรถยา อมรพรหมภักดี, ฐาศุกร์ จันทร์ประเสริฐ อมราพร สุรการ. การนิเทศทางการพยาบาล: การทบทวนแบบกำหนดขอบเขต. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2563;30(3):144-157.

อารี ชีวเกษมสุข. การจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลด้วยการเรียนรู้แบบผสมผสานในยุค ความปกติใหม่. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล. 2563;37(1):25-37.

Proctor WR, Foster AJ, Vogt J, Summers C, Middleton B, Pilling MA, et al. Utility of spherical human liver microtissues for prediction of clinical drug-induced liver injury. Arch Toxicol. 2017;91(8):2849-63.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-25