ปัจจัยที่สัมพันธ์กับผลลัพธ์ของการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ในอำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
คำสำคัญ:
ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง, ผลลัพธ์ของการฟื้นฟูสมรรถภาพ, ระดับความเข้มข้นในการฟื้นฟูสมรรถภาพ, ลักษณะการดูแลผู้ป่วย, ความพร้อมของผู้ป่วยในการฟื้นฟูสมรรถภาพบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับผลลัพธ์ของการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในอำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคามที่เข้าสู่ระบบบริการสุขภาพสาขาการฟื้นฟูสมรรถภาพระยะกลาง (Intermediate Care) ครบ 6 เดือน
วิธีการศึกษา : เป็นการวิจัย R2R เชิงพรรณนา แบบสหสัมพันธ์อย่างง่ายกลุ่มตัวอย่างจำนวน 38 ราย เก็บข้อมูลโดยการทบทวนเวชระเบียนและสัมภาษณ์
ผลการศึกษา : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์ของการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในอำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ปัจจัยด้านระดับความเข้มข้นในการฟื้นฟูสมรรถภาพ ลักษณะการดูแลผู้ป่วย และความพร้อมของผู้ป่วยในการฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่วนปัจจัยด้านอายุและระดับความรุนแรงไม่มีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์ของการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุปผลการศึกษา : ระดับความเข้มข้นในการฟื้นฟูสมรรถภาพ ลักษณะการดูแลผู้ป่วย และความพร้อมของผู้ป่วยในการฟื้นฟูสมรรถภาพมีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์ของการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
References
Grefkes C, Fink GR. Recovery from stroke: current concepts and futureperspectives.Neurol.Res. Pract.2 [internet]. 2020 [cited 2021Nov 17] ; 17. Available from: https://neurolrespract.biomedcentral.com/articles/10.1186/s42466-020-00060-6
สมศักดิ์ เทียมเก่า. สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมอง. ประสาทวิทยาแห่งประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2021 [เข้าถึงเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2565]; 37:54-60. เข้าถึงได้จาก: 07 Nana Sara Somsak.pdf (neurothai.org)
physio-pedia.com [Internet]. UK: Barthel Index, [cited 2022 Nov 24]. Available from: https://www.physio-pedia.com/Barthel_Index
mdapp.co [Internet]. Manchester: Barthel Index for Activities of Daily Living (ADL), [cited 2022 Nov 24]. Available from: https://www.mdapp.co/barthel-index-for-activities-of-daily-living-adl-calculator-361/
โรงพยาบาลปรางค์กู่. แบบประเมินกิจวัตรประจําวัน ดัชนีบารเธลเอดีแอล (Barthel Activities of Daily Living: ADL) [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2565]. เข้าถึงได้จาก:pknhospital.com/2019/data/starRPST/homecare/cpso_star62_05.pdf
Yagi M, Yasunaga H, Matsui H, et al. Impact of Rehabilitation on Outcomes in Patients WithIschemic Stroke. aha. 2017;48:740-6.
Ballester BR, Ward NS, Brander F, et al. Relationship between intensity and recovery in post- stroke rehabilitation: a retrospective analysis. jnnp. 2021: 32694. Available from: http://dx.doi.org/10.1136/jnnp-2021-326948
วาริสา ทรัพประดิษฐ์, ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย, นำพร สามิภักดิ์, และคณะ. จำนวนชั่วโมงกายภาพบำบัดที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันใน ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลัน. กายภาพบำบัด [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2565]; 44: 1-11. เข้าถึงได้จาก:https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tjpt/article/view/242043
Teasell R, Hussein N. Chapter 3 Background Concepts in Stroke Rehabililation In: Teasell R, Iruthayarajah J, Saikaley M, Longual M, editors. Evidence-Based Review of Stroke Rehabilitation [internet]. 19. London: Earthlore; 2018 [cited 2022 Nov 2] Available from:http://www.ebrsr.com/evidence-review/3-background-concepts-stroke-rehabilitation
Lui sk, Nguyen MH. Elderly Stroke Rehabilitation: Overcoming theComplications and ItsAssociated Challenges. cggr [internet]. 2018 [cited 2021 Mar 29] . Available from: https://www.hindaw.com/journals/cggr/2018/9853837
กณิฐา ตุ้ยดา, พัชราพร เกิดมงคล, ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ, และคณะ. ปัจจัยทำนายความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองใน กรุงเทพมหานคร.พยาบาลสาธารณสุข [อินเตอร์เน็ต].2560; 31: 27-42. เข้าถึงได้จาก:https://he01.tci-thaijo.org/index.php/phn/article/view/100845/78354/
Hung KH, Lai JC, Hus KN, et al. Gender Gap and Risk Factors for Poor Stroke Outcome: A Single Hospital-Based Prospective Cohort Study. j.jstrokecerebrovasdis [internet]. 2018 [cited 2022 Nov 2]. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/29779883/
Gustavsson M, Guidetti S, Eriksson G, et al. FACTORS AFFECTING OUTCOME IN PARTICIPATION ONE YEAR AFTER STROKE: A SECONDARY ANALYSIS OF A RANDOMIZED CONTROLLED TRIAL. Sweden. J Rehabil Med; 2019. doi: 10.2340/16501977-2523
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลมหาสารคาม