พลังสุขภาพจิตในนักศึกษาพยาบาลที่มีผลต่อการการจัดการความเครียด
คำสำคัญ:
พลังสุขภาพจิต, การจัดการความเครียดบทคัดย่อ
พลังสุขภาพจิตมีความสำคัญอย่างยิ่งในนักศึกษาพยาบาล เพราะพลังสุขภาพจิตที่ดีช่วยให้นักศึกษามีความสามารถในการจัดการกับความเครียดและแรงกดดันในชีวิตการศึกษาได้ดีขึ้น สามารถเผชิญปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นักศึกษาพยาบาลที่มีพลังสุขภาพจิตที่แข็งแกร่งจะมีสมาธิ มีความสามารถในการเรียนรู้ที่ดี มีทักษะในการแก้ไขปัญหา จัดการกับความเครียดของตนเองได้ การส่งเสริมให้นักศึกษาพยาบาลมีพลังสุขภาพจิตที่ดีนั้นนอกจากตัวนักศึกษาเองต้องเป็นคนพัฒนาริเริ่มแล้ว การส่งเสริมจากปัจจัยภายนอกก็เป็นสิ่งสำคัญ
References
มณฑา ลิ้มทองกุล และสุภาพ อารีเอื้อ. แหล่งความเครียด การเผชิญความเครียด และผลลัพธ์การผชิญกับความเครียดของนักศึกษาพยาบาล. รามาธิบดีพยาบาลสาร. 2552;15(2):192-205.
Hegge, M., & Larson, V. Stressors and Coping Strategies of Students in Accelerated Baccalaureate Nursing Programs. Nurse Educator. 2008;33:26-30.
Pryjmachuk, S., & Richards, D.A. Predicting stress in pre-registration midwifery students attending a university in Northern England. Midwifery. 2008;24(1):108-122.
Dzurec, L.C., Allchin, L., & Engler, A.J. First-year nursing students' accounts of reasons for student depression. The Journal of Nursing Education. 2007;46(12):545-51
กชกร ฉายุกุล. ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตในนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครราชสีมา. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา. 2561;29(1):27-43.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, ทัศนา ทวีคูณ, จริยา วิทยะศุภร, และพิศสมัย อรทัย. ความแข็งแกร่งในชีวิตและความเครียดของนักศึกษาพยาบาลโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. 2554;25(1):1-13.
Grotberg, E.H. Resilience for Today: Gaining Strength from Adversity. Greenwood:Praeger Publishers; 2003.
Davis, N. J. Resilience, Status of the Research and Research-Based Model. 1999 [Retrieved April 10, 2021], from http://menalhealth.sahsa.gvo/shoolviolence/5-8resilience.asp.
Ahern, N.R. Adolescent resilience: An evolutionary concept analysis. Journal of pediatric nursing. 2006; 21(3):175-185.
Diasa, P., & Cadimeb, I., Protective Factors resilience in adolescents: the mediating role of self- regulation. Educational Psychology. 2017;23:37-43.
Sawyer, S.M., Azzopardi, P.S., Wickremarathne, D., & Patton, G.C. The age of adolescence. The Lancet Child & Adolescent Health. 2018;2(3):223-28.
Van Harmelen, A.L., Kievit, R.A., Ioannidis, K., Neufeld, S., Jones, P.B., Bullmore, E., et al. Adolescent friendships predict later resilient functioning across psychosocial domains in a healthy community cohort. Psychological Medicine. 2017;47(13):2312- 22.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และทัศนา ทวีคูณ. โปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งใน ชีวิต. กรุงเทพฯ: จุดทอง; 2555.
สืบตระกูล ตันตลานุกูล และปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์. ความเครียดและการจัดการความเครียดของ นักศึกษาพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุตรดิตถ์. 2560;9(1):81-92.
Burnard, P., Haji, H.T.B.P.D., Rahim, A., Hayes, D., & Edwards, D. A descriptive study of Bruneian student nurses’ perceptions of stress. Nurse Education Today. 2007;27(7):808-18.
Kitano, M.K., & Lewis, R.B. Resilience and coping: Implications for gifted children and youth at risk. Roeper review. 2005;27(4):200-05.
ชุติกาญจน์ แซ่ตั้น และศศิธร คำพันธ์. ความเครียดและการเผชิญความเครียดของนักศึกษาพยาบาล ในการฝึกภาคปฏิบัติวิชาการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ 1. วารสารวิทยาลัยบรมราช ชนนี กรุงเทพฯ. 2557;30(3):54-63.
มาลีวัล เลิศสาครศิริ. ความเครียดและการจัดการความเครียดของนักศึกษาพยาบาล ขณะขึ้นฝึก ปฏิบัติงานห้องคลอด. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยเซนต์หลุยส์; 2555.
ธนพล บรรดาศักดิ์, กนกอร ชาวเวียง, นฤมล จันทรเกษม, สมหวัง โรจนะ และกนกพร เทียนคำศรี. ปัจจัยที่มีผลต่อความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาลระหว่างฝึกปฏิบัติงานหอผู้ป่วยหนัก. วารสาร ศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า. 2560;34(1):6-16.
จิราภรณ์ สรรพวีรวงศ์, มัชฌิมา ดำมี, จันทร์จิรา นิ่มสุวรรณ, ชุติมา หมัดอะดัม, ศุภารัตน์ ละเอียด การ และสุชาวดี โสภณ. ความเครียด การจัดการความเครียด และความต้องการความช่วยเหลือของ นักศึกษาพยาบาล. วารสารการพยาบาลและการศึกษา. 2559;9(3):36-50.
Ahmed, W.A., & Mohammed, B.M. Nursing students' stress and coping strategies during clinical training in KSA. Journal of Taibah University Medical Sciences. 2019;14(2):116-22.
สิริทรัพย์ สีหะวงษ์, ณิชกานต์ ฝูงดี, ณัฐธิดา ยานะรมย์, ณัฐนรี น้อยนาง, ณัฐมล อาไนย์,
ตุลาภรณ์ บุญเชิญ, ทริกา จอดนอก, ทัตติยา สุริสาร และธัญญาเรศ พ่อยันต์. ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความเครียดของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสาร มฉก.วิชาการ. 2561;21(42):93-106
ศิริไชย หงษ์สงวนศรี และนิดา ลิ้มสุวรรณ. พัฒนาการทางจิตใจ. ใน: มาโนช หล่อตระกูล และ
ปราโมทย์ สุคนิชย์, บรรณาธิการ. จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี. ฉบับเรียบเรียง ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; 2558. 1-20.
Erikson, E.H. Childhood and society (2nd Ed.). New York: Norton; 1963.
McMillan W. Identity and attribution as lenses to understand the relationship between transition to university and initial academic performance. AJHPE. 2015;7(1):32-8.
ลัดดาวัลย์ แดงเถิน. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดของนิสิตพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ระหว่าง ฝึกปฏิบัติงาน. 2558 [2566 กรกฎาคม 1]. http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/704.
นิภา แก้วศรีงาม. ความคิดเชิงบวก (Positive Thinking) พึงคิดว่าทุกปัญหามีทางออก ไม่ใช่ทุกทาง ออกเป็นปัญหา. วารสารวงการครู. 2547;12(1):76-8.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, พิศสมัย อรทัย, และพูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธ์. โมเดลความสัมพันธ์เชิง สาเหตุระหว่างเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ บรรยากาศในครอบครัว ความแข็งแกร่งในชีวิต และ สุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล. รามาธิบดีพยาบาลสาร. 2557;20(3):401-14.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลมหาสารคาม