การพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาลในการสนับสนุนและส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันและจัดการภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยที่ได้รับเคมีบำบัด
คำสำคัญ:
นวัตกรรมการพยาบาล, หลักฐานเชิงประจักษ์, เยื่อบุช่องปากอักเสบ, เคมีบำบัดบทคัดย่อ
ภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ เป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญและพบบ่อยหลังได้รับเคมีบำบัด เกิดขึ้นได้ทันทีจนถึงหลายสัปดาห์หลังได้รับยาเคมีบำบัด ก่อให้เกิดความเจ็บปวดและทุกข์ทรมาน ในรายที่อาการรุนแรงอาจจำเป็นต้องได้รับยาบรรเทาอาการปวด บางรายมีปัญหาทุพโภชนาการ และติดเชื้อในช่องปาก บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอนวัตกรรมในป้องกันและจัดการภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบจากการได้รับเคมีบำบัด โดยใช้แนวคิดระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเองของโอเร็มและการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์โดยประยุกต์แนวคิดของเฟรมมิ่งและเฟนตอน นำสู่การปฏิบัติ 5 ขั้นตอนได้แก่ 1) การตั้งคำถามจากสถานการณ์ปัญหา 2) การสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ 3) การประเมินคุณภาพหลักฐานเชิงประจักษ์ 4) การตัดสินใจและนำไปปฏิบัติ และ 5) การตรวจสอบผลการปฏิบัติที่เป็นวงจรต่อเนื่อง โดยนวัตกรรมการพยาบาลที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 1) แผนการป้องกันและจัดการภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบร่วมกับการใช้น้ำผึ้งและความเย็น 2) แฟ้มประกอบการสอนและการให้ข้อมูล 3) คู่มือการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วย และ 4) สิ่งประดิษฐ์วงล้อประเมินภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ
References
2. สมพรยาเภา, มะลิรัศมีจันทร์, นิวรรณนันทสุขเกษม, กนกวรรณบุญสังข์. การป้องกันและบรรเทาอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด. วารสารพยาบาลศิริราช2552;3(1): 37-47.
3. Chaveli-López B, Bagán-Sebastián JV. Treatment of oral mucositis due to chemotherapy. J Clin Exp Dent2016;8(2): e201–e209.
4. วันทกานต์ราชวงศ์, ปรางทิพย์ฉายพุทธ, สุวิมลกิมปี, นันทกานต์เอี่ยมวนานนทชัย. ผลของโปรแกรมการจัดการการดูแลช่องปากด้วยตนเองต่อภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีหรือฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด. วารสารสภาการพยาบาล2556;28(1):34-48.
5. ปณิตา คุณสาระ, พรรณวดี พุธวัฒนะ, ธิราภรณ์ จันทร์ดา. ผลของโปรแกรมการดูแลช่องปากด้วยตนเองต่ออาการเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด. รามาธิบดีพยาบาลสาร2556;19(1):73-86.
6. Prutipinyo C, Maikeow K, Sirichotiratana N. Self-care behaviours of chemotherapy patients. J Med Assoc Thai2012;95(Suppl6):S30-7.
7. หยาดรุ้ง อุไรพันธุ์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. วารสารพยาบาลทหารบก2557;15(1):87-92.
8. สมจิต หนุเจริญกุล. การพยาบาลศาสตร์ของการปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: วี.เจ.พริ้นติ้ง;2554.
9. Orem DE. (Ed.) Nursing: concepts of Practice (5th ed.). St. Louis : Mosby-Year Books;1995.
10. ณัฐธยาน์ ชาบัวคำ, พรรณวดี พุธวัฒนะ, ธิราภรณ์ จันทร์ดา.ผลของโปรแกรมการดูแลช่องปากด้วยตนเองร่วมกับกลีเซอรีนพญายอและเจลแป๊ะตำลึงต่อภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด. รามาธิบดีพยาบาลสาร2557;20(2):145-62.
11. กิ่งกาญจน์ ตังคโนภาส, นํ้ าอ้อย ภักดีวงศ์, อําภาพร นามวงศ์พรหม. ผลลัพธ์ของการดูแลเพื่อป้องกันการเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบโดยใช้แนวปฏิบัติ ที่พัฒนาจากหลักฐานเชิงประจักษ์ในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบําบัด. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจําปี 2559.
12. Melnyk, B. M., & Fineout-Overholt, E. (Eds.). Evidence-based practice in nursing & healthcare: A guide to best practice. Lippincott Williams & Wilkins;2011.
13. จุฑารัตน์ บันดาลสิน. การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สู่นวัตกรรมการบริการพยาบาล. วารสาร พยาบาลทหารบก 2557;15(3):9-17.
14. อนุชา ไทยวงษ์ และคณะ. ชุดนวัตกรรมส่งเสริมการบริหารแขนและไหล่หลังการผ่าตัดเต้านม:จากหลักฐานเชิงประจักษ์สู่การสร้างนวัตกรรม. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม 2560;14(3):114-24.
15. Flemming K, Fenton M. Making sense of research evidence to inform decision making. In Thompson C. Dowding D. editors. Clinical decision making and judgement in nursing. Toronto: Harcourt Publishers;2000:109-29.
16. Cho HK, Jeong YM, Lee HS, Lee YJ, Hwang SH. Effects of honey on oral mucositis in patients with head and neck cancer: A meta-analysis. Laryngoscope 2015;125(9):2085-92.
17. Richards D. Evidence to support the use of honey for prevention of oral mucositis in cancer patients is limited. Evid Based Dent2012;13(3):74.
18. Aghamohamamdi A, Hosseinimehr SJ. Natural products for management of oral mucositis induced by radiotherapy and chemotherapy. Integr Cancer Ther2016;15(1):60-8.
19. พิชญาภา พิชะยะ, พรรณวดี พุธวัฒนะ, ลาวัลย์ รักษนาเวศ, สุภัทรา เฟื่องคอน. ผลของการใช้น้ำผึ้งต่ออาการเยื่อบุช่องปากอักเสบและภาวะโภชนาการในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษากับเคมีบำบัด.วารสารโรคมะเร็ง2558;35(3):103-10.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทันตาภิบาล