ผลของการประยุกต์ใช้ทฤษฏีความสามารถของตนเองในการลดปริมาณคราบจุลินทรีย์และสภาวะเหงือกอักเสบในนักเรียนชั้นประถมศึกษา

Main Article Content

อรวรรณ นามมนตรี
ธัญชนก เชื้อกุล
สุภารัตน์ การคิด
ปฤษฎางด์ ศักดิ์สิทธิ์

บทคัดย่อ

          The quasi-experimental research aimed to study the effect of dental health promotion program applying self-efficacy theory for reducing plaque accumulation and gingivitis among Prathomsuksa 6 students in Moei wadi t municipal school, Moei wadi district, Roi-et province. The samples were 60 people divided into two groups; the experimental and the control groups. Each group consisted of 30 students. The experimental group received health promotion program that applied self-efficacy 5 times during the 3 weeks. Data were collected by questionnaires, plaque index records and gingival index records. Data were analyzed using descriptive statistics including frequency, percentage, mean, and standard deviation. Estimated data for comparative scores were analyzed by Mann - Whitney U test at 0.05 level of significance.


          The main results showed that after the intervention, expectations of self-efficacy in dental health, and practice in oral health care in experimental group were significantly higher than those in the control group (p<0.001). Moreover, the experimental group had lesser amount of plaque and better gingival health than those in the control group (p<0.001).


 

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research article)

References

สำนักทันตสาธารณสุข. รายงานผลสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 8 พ.ศ.2560. กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข;2560.

Bandura A. Self-efficacy. The exercise of control. New York: W H Freman;1977.

Bandura A. Health promotion from the perspective of social cognitive theory. Stanford University;1998

Woelber et al. Oral hygiene-related efficacy as a predictor of oral hygiene behavior: a prospective cohortStudy. J Clin Periodontol 2015;42:142-49.

Quigley GA and Hein JW. Comparative cleansing efficiency of manual and power brushing. J Am DentAssoc 1962;65(1):26-9.

Loe H and Silness J. Periodontal disease in pregnancy. Acta Odontol Scand 1963;21: 533-51.

ปัญนี กิตติพงศ์พิทยา. การประยุกต์ใช้ทฤษฏีการรับรู้ความสามารถของตนเองเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพในนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว. ว.สุขศึกษา 2552 ม.ค.-เม.ย.;31(108);7-25.

กุลชาติ วัฒนวงศ์ เวฬุวนารักษ์. ผลของการประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคเหงือกอักเสบในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตำบลเมืองแคน อำเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการจัดการระบบสุขภาพ, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม;2555.

สิริลักษณ์ รสภิรมย์. ประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีความสามารถของตนเองที่มีต่อพฤติกรรมทันตสุขภาพของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ;2556.

ปิยะลักษณ์ เดือนกองและพรรณี บัญชรหัตถกิจ. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคเหงือกอักเสบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอแก้งค้อ จังหวัดชัยภูมิ. ว.ทันตาภิบาล 2556 ม.ค.-มิ.ย.;24(1):54-67.

สรวงสุดา บูชาและสุขสมัย สมพงษ์. ประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฏีความสามารถตนเองเพื่อป้องกันโรคเหงือกอักเสบในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร. ว.ทันตาภิบาล 2561 ก.ค.-ธ.ค.;29(2):1-12.

Kay E and Locker D. A systematic review of the effectiveness of health promotion aimed at improving oral health. Community Dent Health 1998 Sep;15(3):132-44.