ปัจจัยแห่งความสำเร็จและปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตสุขภาพที่ 5
คำสำคัญ:
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ปัจจัยทางการบริหาร การปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยแห่งความสำเร็จและปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตสุขภาพที่ 5 โดยประชากรที่ 296 คน ทำการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิได้กลุ่มตัวอย่าง 157 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และกลุ่มบุคคลที่ใช้แนวทางการสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 12 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน กำหนดระดับนัยสำคัญที่ 0.05 จากการศึกษาพบว่า ตัวแปรปัจจัยทางการบริหารด้านงบประมาณ ด้านเทคโนโลยี และปัจจัยแห่งความสำเร็จด้านการพัฒนาคุณภาพการรักษาด้านทันตสุขภาพและภาพลักษณ์ของสถานบริการ ด้านการปฏิบัติงานในพื้นที่ที่มีความพร้อมและสมัครใจในการมีส่วนร่วม และด้านการเชื่อมโยงระหว่างสถานบริการในเครือข่ายบริการสุขภาพ ทั้ง 5 ตัวแปรมีผลและสามารถร่วมกันพยากรณ์การปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตสุขภาพที่ 5 ได้ร้อยละ 47.8 (R2=0.478, p-value<0.001)
References
ทันตแพทย์สมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. (2558). งานประชุุมวิชาการทันตแพทยสมาคม ครั้งที่ 11. ข่าวสารทันตแพทย์, 29(1), 1-70.
สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. (2560). รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8ประเทศไทย พ.ศ.2560. นนทบุรี: สามเจริญพาณิชย์.
สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. (2562). คู่มือแนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563. นนทบุรี: สำนักทันตสาธารณสุข.
สุณี วงศ์คงคาเทพ, เทพนิมิต พิมทะวงศ์, สุริยา รักเจริญ, และชลธิชา พุทธวงษ์นันท์. (2552).
แนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุขสำหรับทันตบุคลากรในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและศูนย์สุขภาพชุมชน. นนทบุรี: กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
ชูชัย ศุภวงศ์ และคณะ. (2553). คู่มือการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. กรุงเทพฯ: ทีคิวพี.
ประจักร บัวผัน. (2558). หลักการบริหารสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 4. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักงานเขตสุขภาพที่ 5. (2564ก). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรสุขภาพ. ราชบุรี: สำนักงานเขตสุขภาพที่ 5.
สำนักงานเขตสุขภาพที่ 5. (2564ข). งาน P&P สุขภาพช่องปาก ที่มุ่งเน้นการเข้าถึงบริการบางกลุ่มวัยเป็นการจำเพาะ. ราชบุรี: สำนักงานเขตสุขภาพที่ 5.
Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for the behavior sciences. 2nd ed. Hillsdale, NJ: Lawrence Erlbaum.
ยุทธนา แก้วมืด, ประจักร บัวผัน, และสุรชัย พิมหา. (2563). ปัจจัยแห่งความสำเร็จและแรงจูงใจที่มีผลต่อเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 20(2), 47-59.
Likert, R. (1967). The human organization: Its management and values. New York: McGraw-Hill.
สำเริง จันทรสุวรรณ, และสุวรรณ บัวทวน. (2547). ระเบียบวิจัยทางสังคมศาสตร์. ขอนแก่น: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น.
Elifson, K.W., Runyon, R.P., & Haber, A. (1990). Fundamentals of Social Statistics.
nd ed. New York: McGraw-Hill.
นุจนาถ ขวาไทย, และชัญญา อภิปาลกุล. (2557). ปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขด้านสุขาภิบาลอาหาร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต่าบล จังหวัดชัยภูมิ. ใน มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2557: เอกสารรายงานสืบเนื่องหลังการประชุม เล่ม 1 สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ภาคบรรยาย. (หน้า 677-683). บุรีรัมย์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
เพ็ญนภา ชาดี, และสุวิทย์ อุดมพาณิชย์. (2562). คุณลักษณะส่วนบุคคลและปัจจัยการบริหารที่มีผลต่อการปฏิบัติงานด้านทันตกรรมป้องกันของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดขอนแก่น. วารสารทันตาภิบาล, 30(1), 92-102.
ศุภลักษณ์ คุ้มวงศ์, และสุวิทย์ อุดมพานิชย์. (2562). คุณลักษณะส่วนบุคคลและปัจจัยทางการบริหารที่มีผลต่อการดำเนินงานข้อมูลสารสนเทศของบุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 12(3), 19-30.
ศรัณยา พันธุ์โยธา, และประจักร บัวผัน. (2564). ปัจจัยทางการบริหารและบรรยากาศองค์การที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของนักวิชาการสาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 21(2), 152-165.
วิลาสินี วงค์ผาบุตร, และประจักร บัวผัน. (2564). แรงจูงใจและปัจจัยแห่งความสำเร็จที่มีผลต่อการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคพยาธิใบไม้และมะเร็งท่อน้ำดีของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 21(3), 186-199.
ศุมาลิณ ดีจันทร์, และประจักร บัวผัน. (2562). แรงจูงใจและปัจจัยแห่งความสำเร็จที่มีผลต่อการปฏิบัติงานแพทย์แผนไทยของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดเลย. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 19(2), 166-176.
ปภินวิทย์ คำสมาน, มกราพันธุ์ จูฑะรสก, และประจักร บัวผัน. (2564). ปัจจัยแห่งความสำเร็จและการสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและควบคุมวัณโรคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดสกลนคร. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 21(3), 223-235.
นภาจรัส พรมรี, และประจักร บัวผัน. (2564). ปัจจัยแห่งความสำเร็จและการสนับสนุนจากองค์การที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานเวชสถิติในโรงพยาบาลชุมชน เขตสุขภาพที่ 7.
วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 21(2), 179-191.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารทันตาภิบาล
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทันตาภิบาล