เด็กติดขวดนมจัดการอย่างไรดี ?

ผู้แต่ง

  • อรวรรณ นามมนตรี ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น
  • นงรัตน์ กล่ำรัตน์ รพ.สต.บ้านโพธิ์เย็น ต.ดอนขมิ้น อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี
  • สุนิสา ขาวโกทา รพ.สต.ขัวเรียง ต.ขัวเรียง อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

คำสำคัญ:

เด็กติดขวดนม, หย่านม, การเลี้ยงเด็กอ่อน

บทคัดย่อ

          ปัจจุบันขวดนมเป็นสิ่งที่จำเป็นและสะดวกสบายในการเลี้ยงเด็กอ่อน แต่อย่างไรก็ตามการให้เด็กเลิกขวดนมในวัยที่เหมาะสมก็ยังเป็นสิ่งที่จำเป็น โดยเด็กควรเลิกขวดนมก่อนที่อายุจะถึง1ปี หากผู้ปกครองปล่อยให้เด็กใช้ขวดนมต่อไปจนอายุมากกว่านี้จะทำให้เด็กติดขวด และส่งผลกระทบต่างๆอันได้แก่ โรคฟันผุ ภาวะทุพโภชนาการ และขาดการพัฒนาทางด้านทักษะ สาเหตุของการติดขวดนมในเด็กมาจาก 3 ปัจจัยหลัก อันได้แก่ ปัจจัยจากตัวเด็ก ปัจจัยจากตัวผู้ปกครอง และปัจจัยเกี่ยวกับจังหวะและเวลา โดยเฉพาะพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครอง เช่น การให้เด็กดื่มนมมื้อดึก และการให้นมทุกครั้งที่ลูกร้องขอ ดังนั้นการป้องกันการติดขวดนมจึงเน้นไปที่การเลิกนมมื้อดึก และการฝึกให้เด็กดื่มนมจากแก้ว ในช่วงที่เด็กอายุ 8-12 เดือน 

References

1. Swasdivorn S, Wanthanaphuti P, Pue-arun S, Juansang S. Situation of baby bottle use:Is it suitable to
recommend weaning by the age of one year?. J Med Assoc Thai 2008;91:Suppl3:S128-35.

2. จันทนา อึ้งชูศักดิ์ และปิยะดา ประเสริฐสม. โรคฟันผุในฟันน้ำนม. ว.ทันต. ฉบับที่ 1-2 มกราคม-ธันวาคม 2549;9-14.

3. American Academy of Pedriatic and American Academy of Pediatrics. Nursing bottle caries. January, 1978. Chicago, III.

4. สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ. เลี้ยงลูกด้วยนมแม่. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟรีมายด์;2551.

5. ปิยะดา ประเสริฐสม. น้ำตาล ความหวานในขนม เครื่องดื่ม นมพร้อมดื่ม นมผงสำหรับเด็ก (พิมพ์ครั้งที่ 1). นนทบุรี: กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข;2551.

6. อภิวันทน์ ด่านชัยวิจิตร. ผลความเปลี่ยนแปลงความเป็นกรด-ด่างของแผ่นคราบจุลินทรีย์จากนมสำหรับเด็ก. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล;2545.

7. บุบผา ไตรโรจน์ และคณะ. การศึกษาสถานการณ์การเลี้ยงดูเด็กของผู้ปกครองที่มีผลต่อสภาวะโรคฟันผุในเด็กปฐมวัย. ว.ทันต. ฉบับที่ 1-2 มกราคม-ธันวาคม 2548; 29-38.

8.สุณี วงค์คงคาเทพ, ขนิษฐ์ รัตนรังสิมา และอังศณา ฤทธิ์อยู่. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดฟันผุของเด็กไทยอายุ 6-30 เดือน. (พิมพ์ครั้งที่ 1). นนทบุรี: กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข;2547.

9. ลักขณา อุ้ยจิรากุล. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเลี้ยงดูและการเกิดโรคฟันผุในเด็กเล็กในจังหวัดสระแก้ว. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยทางทันตแพทย์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น;2556.

10. Bonuck KA, Kaha R. Prolonged bottle use and its association with iron deficiency anemia and Overweight: a preliminary study. Clin Pediatr 2002;41(8):603-7.

11. Gooze RA, Anderson SE, Whitaker RC. Prolonged bottle use and obesity at 5.5 year of age in us children. Journal Pediatr 2011;159(3):431-6.

12. Sutcliffe TL, Khambalia A, Westergard S, Jacobson S, Peer M, Parkin PC. Iron depletion is associated
with daytime bottle-feeding in the second and third years of life. Arch Pediatr Adolesc Adolesc Med 2006;160:1114-20.

13. ลลิลทิพย์ ลิ่มพานิช. การศึกษาระดับธาตุเหล็กในเด็กอายุ 1 – 2 ปี ที่ยังใช้ขวดนมและมารับบริการตรวจสุขภาพที่สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี. วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้และความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขากุมารเวชศาสตร์สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี กระทรวงสาธารณสุข;2555.

14. ธารา จินดาและคณะ. พัฒนาการเด็กแรกเกิดถึงห้าขวบ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สายฝน;2544.

15. อุษา แย้มสุวรรณ. การสำรวจเทคนิคการเลิกใช้ขวดนมของเด็กอายุ 1 - 3 ปีที่มารับบริการที่สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี (โครงการนำร่อง). วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้และความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขากุมารเวชศาสตร์สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี กระทรวงสาธารณสุข;2552.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-12-27

ฉบับ

บท

บทความปริทัศน์ (Review article)