ผลไม้กับฟัน
คำสำคัญ:
ผลไม้, ฟันบทคัดย่อ
ผลไม้ เป็นอาหารที่มีความสำคัญและการดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นอาหารเพื่อสุขภาพ ผลไม้ที่นิยมรับประทานกันในปัจจุบันนี้ อาจมีผลต่อสุขภาพในช่องปากโดยเฉพาะ “ฟัน” เช่น ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือผลไม้ที่มีลักษณะเนื้อที่นุ่มสามารถเกาะติดฟัน รวมทั้งการนำผลไม้มาดัดแปลงเพื่อสร้างความจูงใจในการรับประทาน เช่น น้ำผลไม้ปั่น ไอศกรีมผลไม้ ดังนั้นการเลือกรับประทานผลไม้รวมทั้งผลิตภัณฑ์ที่มาจากผลไม้ ที่ถูกจึงมีผลดีต่อสุขภาพฟัน และการปฏิบัติตนหลังรับประทาน จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ
References
1. ณัฐกฤตา นันทะสิน. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคและความภักดีต่ออาหารเพื่อสุขภาพของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร ใน “กระแสวัฒนธรรม” 58(1) : 3-8.
2. Wikipedia. โรคลักปิดลักเปิด.[ออนไลน์]2559[5 กรกฏาคม 2559]จาก https://th.wikipedia.org/wiki/โรคลักปิดลักเปิด.
3. ศิริวรรณเสรีรัตน์และคนอื่นๆ. การบริหารการตลาดยุคใหม่ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร ; 2556.
4. Saxena, Sudhanshu; Oberoi, Sukhvinder Singh; Tiwari, Sonia. Effect of fresh fruit juices on pH of dental plaque.Annals & Essences of Dentistry . 2010( 2)4 : 36-40.
5. ทิพวรรณธราภิวัฒนานนท์ชุติมาไตรรัตน์วรกุล.อาหารโภชนาการและสุขภาพช่องปาก ใน “ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น”กรุงเทพฯ : ภาควิชาทันตกรรมสำหรับเด็กคณะทันตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.; 2551 : 312-320.
6. สำนักทันตสาธารณสุข, กรมอนามัย.อาหารกับสุขภาพช่องปาก. [ออนไลน์]2559[5 กรกฏาคม 2559] จาก http://dental.anamai.moph.go.th/elderly/happysmile/media/family/f06.htm.
7. ฉัตรแก้ว โตษยานน. ผลไม้ต้นเหตุฟันผุ ใน “เคล็ดลับสุขภาพ”.[ออนไลน์]2559[5 กรกฏาคม 2559] จาก http://women.thaiza.com/-ผลไม้-ต้นเหตุฟันผุ-/248820
8. ยลฤดี ตัณฑสิทธิ์ เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ อมร วัฒนธีรางกูร. พืชผักและสมุนไพร เพื่อสุขภาพในช่องปากที่ดี . วารสารทันตาภิบาล ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2557:91-2.
2. Wikipedia. โรคลักปิดลักเปิด.[ออนไลน์]2559[5 กรกฏาคม 2559]จาก https://th.wikipedia.org/wiki/โรคลักปิดลักเปิด.
3. ศิริวรรณเสรีรัตน์และคนอื่นๆ. การบริหารการตลาดยุคใหม่ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร ; 2556.
4. Saxena, Sudhanshu; Oberoi, Sukhvinder Singh; Tiwari, Sonia. Effect of fresh fruit juices on pH of dental plaque.Annals & Essences of Dentistry . 2010( 2)4 : 36-40.
5. ทิพวรรณธราภิวัฒนานนท์ชุติมาไตรรัตน์วรกุล.อาหารโภชนาการและสุขภาพช่องปาก ใน “ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น”กรุงเทพฯ : ภาควิชาทันตกรรมสำหรับเด็กคณะทันตแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.; 2551 : 312-320.
6. สำนักทันตสาธารณสุข, กรมอนามัย.อาหารกับสุขภาพช่องปาก. [ออนไลน์]2559[5 กรกฏาคม 2559] จาก http://dental.anamai.moph.go.th/elderly/happysmile/media/family/f06.htm.
7. ฉัตรแก้ว โตษยานน. ผลไม้ต้นเหตุฟันผุ ใน “เคล็ดลับสุขภาพ”.[ออนไลน์]2559[5 กรกฏาคม 2559] จาก http://women.thaiza.com/-ผลไม้-ต้นเหตุฟันผุ-/248820
8. ยลฤดี ตัณฑสิทธิ์ เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ อมร วัฒนธีรางกูร. พืชผักและสมุนไพร เพื่อสุขภาพในช่องปากที่ดี . วารสารทันตาภิบาล ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2557:91-2.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
2017-06-20
ฉบับ
บท
บทความปริทัศน์ (Review article)
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทันตาภิบาล