การใช้ยา dexmedetomidine เพื่อการป้องกันการเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัด
คำสำคัญ:
ภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัด, การป้องกัน, dexmedetomidineบทคัดย่อ
Dexmedetomidine เป็นยากลุ่ม highly selective alpha 2 adrenergic receptor agonist ออกฤทธิ์ในการยับยั้งระบบประสาทซิมพาเทติกและเพิ่มการทำงานของระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ทำให้ผู้ป่วยสงบและมีผลในการบรรเทาอาการปวดร่วมด้วย เป็นยาที่มีฤทธิ์สงบประสาทระยะสั้น ทำให้ผู้ป่วยสงบแต่สามารถปลุกตื่นและประเมินอาการหลังผ่าตัดได้ง่าย โดยยากลุ่มนี้ไม่มีผลกดการหายใจ ข้อบ่งใช้ที่ได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ.1999 คือ การทำให้สงบ สำหรับผู้ป่วยที่กำลังจะได้รับการใส่ท่อหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจขณะเข้าพักรักษาตัวในหอผู้ป่วยภาวะวิกฤต และการทำให้สงบก่อนการทำหัตถการอื่นๆในผู้ป่วยที่ไม่ใส่ท่อหายใจในระยะก่อนและหรือระหว่างผ่าตัดและหัตถการอื่นๆ โดยให้บริหารยาต่อเนื่องไม่เกิน 24 ชั่วโมง ต่อมามีการศึกษาในการป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัด เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้แก่ การเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคสมองเสื่อม ระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลนานขึ้น เพิ่มระยะเวลาฟื้นฟูสภาพร่างกาย ส่งผลให้ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันลดลง และเพิ่มอัตราการเสียชีวิตหากผู้ป่วยเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัด ขนาดยาเฉลี่ยต่อชั่วโมงที่ปรากฏในงานวิจัยมีตั้งแต่ 0.1-1 ไมโครกรัม/กิโลกรัม/ชั่วโมง ซึ่งเป็นขนาดยาทั่วไปที่ทำให้สงบในระหว่างทำหัตถการ อาการไม่พึงประสงค์ที่พบ ได้แก่ หัวใจเต้นช้า และ ความดันโลหิตต่ำ
References
นิตยา จันทบุตร, ครองสินธุ์ เขียนชานาจ. ภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้สูงอายุ: ความท้าทายของการพยาบาล. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [สืบค้นเมื่อ 20 มิ.ย. 2566];4(2):20-39. สืบค้นจาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnsp/article/view/240613
เอมปภา ปรีชาธีรศาสตร์. ภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัดในผู้สูงอายุุ: การพยาบาลเพื่อป้องกันตามหลักฐานเชิงประจักษ์. วารสารผู้สูงอายุและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 20 มิ.ย. 2566];20(1):11-22. สืบค้นจาก: https://journalggm.org/view-article-57/
Mossie A, Regasa T, Neme D, Awoke Z, Zemedkun A, Hailu S. Evidence-based guideline on management of postoperative delirium in older people for low resource setting: systematic review article. Int J Gen Med. 2022;15:4053-65. doi: 10.2147/IJGM.S349232.
กนกกาญจน์ กองพิธี, ดาราวรรณ อักษรวรรณ, วาสิฎฐี เศษวงศ์, ณัฐวดี บุญเรือง, พลากร สุรกุลประภา. อุบัติการณ์และปัจจัยทำนายภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้สูงอายุหลังผ่าตัด. ศรีนครินทร์เวชสาร [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [สืบค้นเมื่อ 25 มี.ค. 2567];35(2):193-8. สืบค้นจาก: https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/8781
Pipanmekaporn T, Punjasawadwong Y, Wongpakaran N, Wongpakaran T, Suwannacha K, Chittawatanarat K, et al. Risk factors and adverse clinical outcomes of postoperative delirium in Thai elderly patients: a prospective cohort study. Perspect Psychiatr Care. 2021;57(3):1073-82. doi: 10.1111/ppc.12658.
Iamaroon A, Wongviriyawong T, Sura-arunsumrit P, Wiwatnodom N, Rewuri N, Chaiwat O. Incidence of and risk factors for postoperative delirium in older adult patients undergoing noncardiac surgery: a prospective study. BMC Geriatr. 2020;20(1):40. doi: 10.1186/s12877-020-1449-8.
Chaiwat O, Chanidnuan M, Pancharoen W, Vijitmala K, Danpornprasert P, Toadithep P, et al. Postoperative delirium in critically ill surgical patients: incidence, risk factors, and predictive scores. BMC Anesthesiol. 2019;19(1):39. doi: 10.1186/s12871-019-0694-x.
Chen H, Mo L, Hu H, Ou Y, Luo J. Risk factors of postoperative delirium after cardiac surgery: a meta-analysis. J Cardiothorac Surg. 2021;16(1):113. doi: 10.1186/s13019-021-01496-w.
Jin Z, Hu J, Ma D. Postoperative delirium: perioperative assessment, risk reduction, and management. Br J Anaesth. 2020;125(4):492-504. doi: 10.1016/j.bja.2020.06.063.
ศันสนีย์ แสงวณิช. Cerebral small vessel disease (SVD). วารสารสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [สืบค้นเมื่อ 25 มี.ค.2567];16(2):27-35. สืบค้นจาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jtss/article/view/172092
นิศารัตน์ ยุวพัฒนวงศ์, ลัดดา เหลืองรัตนมาศ. การประเมินและแนวทางการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสับสนเฉียบพลันภายหลังการผ่าตัด. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [อินเทอร์เน็ต]. 2559 [สืบค้นเมื่อ 1 ก.ค. 2566];3(6):101-12. สืบค้นจาก: https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/VESTSU/article/view/75836
Fondeur J, Escudero Mendez L, Srinivasan M, Hamouda RK, Ambedkar B, Arzoun H, et al. Dexmedetomidine in prevention of postoperative delirium: a systematic review. Cureus. 2022;14(6):e25639. doi: 10.7759/cureus.25639.
สวลี ลือนภา, พูลสุข หิรัญสาย, ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล, ศิวพันธ์ ยุทธแสน, สุภาพร ทองพันธ์, จุไรพร หมานมา, และคณะ. ผลของโปรแกรมการจัดการและป้องกันภาวะสับสนเฉียบพลันโดยไม่ใช้ยาในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม. วารสารพยาบาลทหารบก [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [สืบค้นเมื่อ 23 มิ.ย. 2566];23(3):305-13. สืบค้นจาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/258441
อัญชนา สุรอมรรัตน์, วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ. เมลาโทนินกับภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน. เวชบันทึกศิริราช [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 23 มิ.ย. 2566];14(2):37-53. สืบค้นจาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/simedbull/article/view/247032
Tao R, Wang XW, Pang LJ, Cheng J, Wang YM, Gao GQ, et al. Pharmacologic prevention of postoperative delirium after on-pump cardiac surgery: a meta-analysis of randomized trials. Medicine (Baltimore). 2018;97(43):e12771. doi: 10.1097/MD.0000000000012771.
ภควัต วิวัฒนวรเศรษฐ์. การใช้ยาทางจิตเวชอย่างสมเหตุสมผล (rational drug use in psychiatry) [อินเทอร์เน็ต]. สงขลา: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; มปป [สืบค้นเมื่อ 3 ก.ค. 2566]. สืบค้นจาก: http://medinfo2.psu.ac.th/psychiatry/elearning/document/undergrade/doc5/doc%20rational%20drug%20use.pdf
Ng KT, Shubash C, Chong JS. The effect of dexmedetomidine on delirium and agitation in patients in intensive care: systematic review and meta-analysis with trial sequential analysis. Anaesthesia. 2019;74(3):380-92. doi: 10.1111/anae.14472.
ภัทวัฒน์ เปล่งพานิช, พิมพ์รภัสร์ รุ่งวิวัฒน์ศิลป์, ศิริกุล ผินสันเทียะ, พีระพงษ์ สังข์สูงเนิน, ศรินญา จันทะวงศ์. ประสิทธิผลของยา dexmedetomidine ทางหลอดเลือดดำร่วมกับ morphine PCA เปรียบเทียบกับ morphine PCA อย่างเดียวเพื่อระงับปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดลิ้นหัวใจ. วิสัญญีสาร [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [สืบค้นเมื่อ 23 มิ.ย. 2566];46(1):20-5. สืบค้นจาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/anesthai/article/view/228087
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลภาวะซึมสับสนเฉียบพลันในผู้สูงอายุที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลศิริราช. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์; 2565.
Ungarian J, Rankin JA, Then KL. Delirium in the intensive care unit: is dexmedetomidine effective?. Crit Care Nurse. 2019;39(4):e8-21. doi: 10.4037/ccn2019591.
Hospira Inc. Precedex® [Package insert]. Bangkok (Thailand): Pfizer (Thailand); 2023.
Barr J, Fraser GL, Puntillo K, Ely EW, Gélinas C, Dasta JF, et al. Clinical practice guidelines for the management of pain, agitation, and delirium in adult patients in the intensive care unit. Crit Care Med. 2013;41(1):263-306. doi: 10.1097/CCM.0b013e3182783b72.
จันทร์จิรา ศักดิ์อรุณชัย, สุภัทรา ปุญญนิรันดร์. ยากระตุ้นตัวรับแอดรีเนอร์จิกชนิดแอลฟา-2 กับการรักษาภาวะสับสนเฉียบพลัน. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [สืบค้นเมื่อ 21 มี.ค. 2567];48(1):67-78. สืบค้นจาก: https://thaidj.org/index.php/CHJ/article/view/11125
ดาวชมพู พัฒนประภาพันธุ์. Interesting topic norepinephrine in depression [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร: คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; 2543 [สืบค้นเมื่อ 21 มี.ค. 2567]. สืบค้นจาก: https://www.rama.mahidol.ac.th/ramamental/sites/default/files/public/pdf/Norepinephrine%20in%20depression.pdf
Reel B. Dexmedetomidine [Internet]. Treasure Island: StatPearls Publishing; 2023 [cited 2023 Jun 25]. Available from: https://www.statpearls.com/ArticleLibrary/viewarticle/20424
Choovongkomol C, Sinchai S, Choovongkomol K. Effect of a single-dose dexmedetomidine on postoperative delirium and intraoperative hemodynamic outcomes in elderly hip surgery: a randomized controlled trial dexmedetomidine for postoperative delirium. Siriraj Med J. 2024;76(2):80-9. doi: 10.33192/smj.v76i2.266653.
Shin HJ, Woo Nam S, Kim H, Yim S, Han SH, Hwang JW, et al. Postoperative delirium after dexmedetomidine versus propofol sedation in healthy older adults undergoing orthopedic lower limb surgery with spinal anesthesia: a randomized controlled trial. Anesthesiology. 2023;138(2):164-71. doi: 10.1097/ALN.0000000000004438.
Hu J, Zhu M, Gao Z, Zhao S, Feng X, Chen J, et al. Dexmedetomidine for prevention of postoperative delirium in older adults undergoing oesophagectomy with total intravenous anaesthesia: a double-blind, randomised clinical trial. Eur J Anaesthesiol. 2021;38(Suppl1):S9-17. doi: 10.1097/EJA.0000000000001382.
van Norden J, Spies CD, Borchers F, Mertens M, Kurth J, Heidgen J, et al. The effect of peri-operative dexmedetomidine on the incidence of postoperative delirium in cardiac and non-cardiac surgical patients: a randomised, double-blind placebo-controlled trial. Anaesthesia. 2021;76(10):1342-51. doi: 10.1111/anae.15469.
Zhang W, Wang T, Wang G, Yang M, Zhou Y, Yuan Y. Effects of dexmedetomidine on postoperative delirium and expression of IL-1β, IL-6, and TNF-α in elderly patients after hip fracture operation. Front Pharmacol. 2020;11:678. doi: 10.3389/fphar.2020.00678.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ