การทดสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ปริมาณซูคราโลสในเครื่องดื่มโดยเทคนิค UPLC-ELSD

ผู้แต่ง

  • กิตติมา โสนะมิตร์ สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • สุธาทิพย์ วิทย์ชัยวุฒิวงศ์ สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ญาณิต หาญทวีทรัพย์ สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

คำสำคัญ:

Sucralose, UPLC-ELSD, Solid-phase extraction, Soft beverages

บทคัดย่อ

       ซูคราโลสเป็นสารให้ความหวานแทนน้ำตาลที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารและเครื่องดื่มตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 389) พ.ศ. 2561 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ปริมาณซูคราโลสในเครื่องดื่มด้วยเทคนิค UPLC-ELSD สกัดตัวอย่างด้วยเทคนิค Solid-phase extraction แยกสารโดยใช้คอลัมน์ C18 สารละลายตัวพาประกอบด้วย methanol, buffer และ acetone พบว่าวิธีมีความจำเพาะเจาะจง ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นเส้นตรงในช่วง 50 ถึง 1,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R2) มากกว่า 0.9990 ขีดจำกัดการตรวจพบและขีดจำกัดการวิเคราะห์ปริมาณมีค่า 17 และ 50 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามลำดับ ความเที่ยงแสดงด้วยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ (%RSDr) มีค่าไม่เกิน 1.4% ความแม่นแสดงด้วยค่าเฉลี่ยของ % recovery อยู่ในช่วง 96.0 ถึง 100.8% และเทคนิค UPLC วิเคราะห์ได้รวดเร็วกว่าวิธี HPLC 4 เท่า

References

Rodero AB, Rodero LS, Azoubel R. Toxicity of sucralose in humans: a review. Int J Morphol 2009; 27(1): 239-44.

วรรณคล เชื้อมงคล. สารให้ความหวาน: การใช้และความปลอดภัย. วารสารไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ 2551; 3(1): 161-8.

American Dietetic Association. Position of the American Dietetic Association: use of nutritive and nonnutritive sweeteners. J Am Diet Assoc 2004; 104(2): 255-75.

The Joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives (JECFA). Sucralose. [online]. 1990; [cited 2016 Dec 31]. Available from: URL: https://www.inchem.org/documents/jecfa/jeceval/jec_2206.htm.

American Pregnancy Association. Artificial sweetener and pregnancy. [online]. 2015; [cited 2016 Oct 18]; [3 screens]. Available from: URL: https://americanpregnancy.org/pregnancy-health/artificial-sweeteners-and-pregnancy/.

บทที่ 2 ซูคราโลส (Sucralose). ใน: ฉวีวรรณ จิตยพันธกุล. เอกสารวิชาการเรื่อง ซูคราโลส วัตถุให้ความหวานจัดชนิดใหม่. นนทบุรี: กองควบคุมอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2540. หน้า 23-29.

พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 389 (พ.ศ. 2561) เรื่องวัตถุเจือปนอาหาร (ฉบับที่ 5). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 135 ตอนพิเศษ 178 ง (วันที่ 25 กรกฎาคม 2561).

พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 121 (พ.ศ. 2532) เรื่องอาหารสำหรับผู้ที่ต้องการ ควบคุมน้ำหนัก. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 106 ตอนที่ 103 (วันที่ 1 กรกฎาคม 2532).

Wasik A, McCourt J, Buchgraber M. Simultaneous determination of nine intense sweeteners in foodstuffs by high performance liquid chromatography and evaporative light scattering detection--development and single-laboratory validation. J Chromatogr A 2007; 1157: 187-96.

Ferrer I, Thurman EM. Analysis of sucralose and other sweeteners in water and beverage samples by liquid chromatography/time-of-flight mass spectrometry. J Chromatogr A 2010; 1217: 4127-34.

Koyama M, Yoshida K, Uchibori N, Wada I, Akiyama K, Sasaki T. Analysis of nine kinds of sweeteners in foods by LC/MS. Shokuhin Eiseigaku Zasshi 2005; 46(3): 72-8.

Yang DJ, Chen B. Simultaneous determination of nonnutritive sweeteners in foods by HPLC/ESI-MS. J Agric Food Chem 2009; 57(8): 3022-7.

Hatano K, Nakao A. Determination of sucralose in foods by liquid chromatography/tandem mass spectrometry. Shokuhin Eiseigaku Zasshi 2002; 43(5): 267-72.

Yamabe T, Takemura M, Kawaguchi Y, Kimura Y, Nishiguchi S, Kitada Y. Determination of sucralose in foods by HPLC using derivatization. Jpn J Food Chem Safety 2012; 19(1): 54-8.

Lawrence JF, Charbonneau CF. Determination of seven artificial sweeteners in diet food preparations by reverse-phase liquid chromatography with absorbance detection. J Assoc Off Anal Chem 1988; 71(5): 934-7.

Eurachem Guide. The Fitness for purpose of analytical methods: a laboratory guide to method validation and related topics. 2nd ed. Torino: Eurachem; 2014.

Ellison SLR, Williams A. Eurachem/CITAC guide: quantifying uncertainty in analytical measurement. 3rd ed. Teddington, UK: Eurachem/CITAC; 2012.

ทิพวรรณ นิ่งน้อย. แนวปฏิบัติการทดสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ทางเคมีโดยห้องปฏิบัติการเดียว. นนทบุรี: กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2549.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-09-2019

ฉบับ

บท

บทความทั่วไป (General Articles)