การพัฒนาและทดสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ยาตกค้างกลุ่มควิโนโลนในเนื้อสัตว์ โดยเทคนิค HPLC-FLD

ผู้แต่ง

  • จิราภา อุณหเลขกะ สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ลัดดา แก้วกล้าปัญญาเจริญ สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

คำสำคัญ:

Quinolone, HPLC-FLD, edible animal tissues

บทคัดย่อ

       ยาปฏิชีวนะกลุ่มควิโนโลนเป็นยาที่อนุญาตให้ใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อในสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภค การใช้ยาอย่างไม่ถูกต้องจะทำให้เกิดการตกค้างในเนื้อสัตว์ ส่งผลให้เกิดอาการข้างเคียงและการดื้อยาในมนุษย์ได้ จึงได้พัฒนาและทดสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ยากลุ่มนี้ จำนวน 6 ชนิด ได้แก่ danoloxacin, diloxacin, enroloxacin, saraloxacin, lumiquine และ oxolinic acid โดยเทคนิค HPLC-FLD ยากลุ่มนี้จะถูกสกัดออกจากตัวอย่างด้วยสารละลายผสมของ 0.3% metaphosphoric acid กับ acetonitrile ด้วยอัตราส่วน 1:10 โดยปริมาตร กำจัดไขมันโดยใช้เทคนิค liquid-liquid extraction ด้วย hexane ที่อิ่มตัวด้วย acetonitrile และทำให้บริสุทธิ์โดยใช้เทคนิค solid phase extraction ด้วย HLBC-18 cartridge จากนั้นตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณด้วยเครื่อง HPLC-FLD วิธีดังกล่าวมีขีดจำกัดของการตรวจพบ (limit of detection, LOD) และค่าขีดจำกัดของการวัดเชิงปริมาณ (limit of quantitation, LOQ) เท่ากับ 5 และ 10 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม ตามลำดับ ช่วงการวิเคราะห์ที่ให้ความสัมพันธ์เป็นเส้นตรง (linearity of working range) อยู่ในช่วง 10-100 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม มีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (coeicient of determination: R2) มากกว่า 0.95 มีความแม่น (accuracy) แสดงด้วยค่าเฉลี่ย % recovery และความเที่ยง (precision) แสดงด้วยค่า HORRAT ที่ระดับความเข้มข้น 10, 50 และ 100 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในช่วง 65.1-97.8% และ 0.3-0.9 ตามลำดับ และจากการทดสอบ matrix efect ทางสถิติด้วย paired t-test พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (μ = 0.05) การเข้าร่วมโปรแกรมการทดสอบความชำนาญโดยการเปรียบเทียบผลทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการมีค่า |Z| น้อยกว่า 2 วิธีนี้จึงมีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้ในห้องปฏิบัติการทดสอบตามค่ากำหนดของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 303) พ.ศ. 2550 จากนั้นได้สำรวจปริมาณการตกค้างของสารกลุ่มนี้ในเนื้อไก่ เนื้อหมู และเนื้อวัวจำนวนทั้งสิ้น 60 ตัวอย่าง ที่จำหน่ายในตลาด 11 แห่งในเขตกรุงเทพฯ และนนทบุรี พบว่ามีเนื้อไก่ 1 ตัวอย่าง ที่ตรวจพบ oxolinic acid ปริมาณ 29.5 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม และอีก 2 ตัวอย่าง พบ Enroloxacin ปริมาณ 16.1 และ 16.9 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม

References

Shen JZ, Xie LJ. Veterinary pharmacology. Beijing, China: China Agricultural University Press; 2000. p. 162-167.

Martin AR. Quinolones. In: Gisvold O, Delgado JN, Remers WA, editors. Wilson and Gisvold’s textbook of organic medicinal and pharmaceutical chemistry. 10th ed. New York: Lippincott-Raven; 1998. p.196-202.

Yorke JC, Froc P. Quantitation of nine quinolones in chicken tissues by high-performance liquid chromatography with luorescence detection. J Chromatogr A 2000; 882: 63-77.

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : ข้อปฏิบัติการควบคุมการใช้ยาสัตว์ ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 126 ตอนพิเศษ 187 ง. (ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2552).

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดชื่อ ประเภท ชนิด ลักษณะ คุณสมบัติ และส่วนประกอบของวัตถุที่เติมในอาหารสัตว์ที่ห้ามใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตอาหารสัตว์ พ.ศ. 2556. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 130 ตอนพิเศษ 189 ง. (ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2556).

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2275 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ข้อกำหนดการควบคุมการใช้ยาสำหรับสัตว์. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 114 ตอนที่ 76 ง. (ลงวันที่ 23 กันยายน 2540).

Juhel-Gaugain M, Abjean JP. Screening of quinolone residues in pig muscle by planar chromatography. J Chromatographia 1998; 47: 101-4.

National Antimicrobial Resistance Surveillance Center of Thailand (NARST). [online]. 2013; [cited 2014 Feb 20]. Available from: URL: http://narst.dmsc.moph.go.th/ars/box/anti2013.pdf.

WHO. Antimicrobial resistance: global report on surveillance [online]. 2014; [cited 2015 Jul 07]. Available from: URL: http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/112642/1/9789241564748_eng.pdf.

ธงชัย เฉลิมชัยกิจ, มณฑล เลิศวรปรีชา และจิโรจ ศศิปรียจันทร์. รูปแบบการดื้อต่อยาต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลล่าในไก่บ้านและไก่ฟาร์ม. ว สัตวแพทยสาร 2548; 56(1): 33-44.

Rao RN, Nagaraju V. Seperation and determination of synthetic impurities of diloxacin by reversed-phase high-performance liquid chromatography. J Pharm Biomed Anal 2004; 36(4): 729-35.

Naeem M, Khan K, Raiq S. Determination of residues of quinolones in poultry products by high pressure liquid chromatography. J Appl Sci 2006; 6(2): 373-9.

Stoilova N, Petkova M. Developing and validation of method for detection of quinolone residues in poultry meat. Trakia J Sci 2010; 8(1): 64-9.

Zhao S, Jiang H, Li X, Mi T, Li C, Shen J. Simultaneous determination of trace levels of 10 quinolones in swine, chicken and shrimp muscle tissues using HPLC with programmable luorescence detection. J Agric Food Chem 2007; 55(10): 3829-34.

Zhao SJ, Jiang HY, Ding SY, Li XL, Wang GQ, Li C, et al. A reliable LC method with luorescence detection for quantiication of (luoro)quinolone residues in chicken muscle. J Chromatographia 2007; 65(9): 539-44.

van Vyncht G, Janosi A, Bordin G, Toussaint B, Maghuin-Rogister G, De Pauw E, et al. Multiresidue determination of (luoro) quinolone antibiotics in swine kidney using liquid chromatography-tandem mass spectrometry. J Chromatogr A 2002; 952: 121-9.

พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 303 (พ.ศ. 2550) เรื่อง อาหารที่มียาสัตว์ตกค้าง. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 124 ตอนพิเศษ 108 ง. (ลงวันที่ 4 กันยายน 2550).

ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสารตกค้างสำหรับสินค้าปศุสัตว์. (ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2549).

Barbosa J, Barron D, Hermo MP, Navalon A, Ballesteros O. Determination and characterization of quinolones in foodstufs of animal origin by CE-UV, LC-UV, LC-FL, LC-MS and LC-MS/MS. Ovid Univ Ann Chem 2009; 20(2): 165-79.

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. แนวปฏิบัติการทดสอบความถูกต้องของวิธีวิเคราะห์ทางเคมีโดยห้องปฏิบัติการเดียว. นนทบุรี : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2549.

ISO 13528:2015 Statistical methods for use in proiciency testing by interlaboratory comparison. Geneva: International Organization for Standardization; 2015.

Hassouan MK, Ballesteros O, Taouiki J, Vilchez JL, Cabrera-Aguilera M, Navalon A. Multiresidue determination of quinolone antibacterials in eggs of laying hens by liquid chromatography with luorescence detection. J Chromatogr B 2007; 852: 625-30.

Wright DH, Herman VK, Konstantinides FN, Rotchafer JC. Determination of quinolone antibiotics in growth media by reversed-phase high-performance liquid chromatography. J Chromatogr B 1998; 709: 97-104.

Hassouan MK, Ballesteros O, Zafra A, Vilchez JL, Navalon A. Multiresidue method for simultaneous determination of quinolone antibacterials in pig kidney samples by liquid chromatography with luorescence detection. J Chromatogr B 2007; 859(2): 282-8.

Su S, Chang M, Chang C, Chang P, Chou S. Simultaneous determination of quinolones in livestock and marine products by high performance liquid chromatography. J Food Drug Anal 2003; 11(2): 114-27.

Commission Regulation (EU) No 37/2010 of 22 December 2009 on pharmacologically active substances and their classiication regarding maximum residue limits in foodstufs of animal origin. Of J Eur Union 2010; L15: 1-72.

Veterinary drug maximum residue limits in the food of animal origin. Bulletin of Ministry of Agriculture of the People’s Republic of China 2002; 235: 12.

ใจพร พุ่มคำ. อาหาร (ไม่) ปลอดภัย ผลจากการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์. ว อาหารและยา 2555; 19(3): 8-11.

กรมประมง. ยาต้านจุลชีพ [ออนไลน์]. 2558; [สืบค้น 7 ก.ค. 2558]; [12 หน้า]. เข้าถึงได้ที่ : URL: http://www.isheries.go.th/quality/ยาต้าจุลชีพ.pdf.

สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม. สารปฏิชีวนะตกค้าง: เอนโรฟลอคซาซิน (Enroloxacin) [ออนไลน์]. [สืบค้น 7 ก.ค. 2558]; [1 หน้า]. เข้าถึงได้ที่ : URL: http://ic.ni.or.th/foodsafety/upload/damage/pdf/enroloxacin_2.pdf.

USFDA. Withdrawal of enroloxacin for poultry [online]. 2005; [cited 2015 Jul 07]. Available from: URL http://www.fda.gov/AnimalVeterinary/SafetyHealth/RecallsWithdrawals/ucm042004.htm.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-12-2015

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Articles)