คุณสมบัติทางเคมีกายภาพของแก่นแจง
คำสำคัญ:
Maerua siamensis (Kurz) Pax, physicochemical properties, Thai Herbal Pharmacopoeiaบทคัดย่อ
แจง (Maerua siamensis (Kurz) Pax) อยู่ในวงศ์ Capparaceae มีสรรพคุณเป็นยาขับปัสสาวะ แก้ไข้ รักษา/ป้องกันฟันผุ และบำรุงกำลัง ประเทศไทยยังไม่มีข้อกำหนดมาตรฐานเพื่อใช้ควบคุมคุณภาพ ดังนั้นจึงทำการศึกษาคุณภาพแก่นแจง ภายใต้โครงการ “การพัฒนาศักยภาพของสมุนไพรที่มีการใช้ในท้องถิ่น” เพื่อจัดทำเป็นข้อกำหนดมาตรฐานในตำรามาตรฐานยาสมุนไพรไทย โดยเก็บตัวอย่างแก่นแจงจากแหล่งธรรมชาติและซื้อจากร้านขายเครื่องยาสมุนไพรทั่วประเทศจำนวน 12 ตัวอย่าง ในการตรวจเอกลักษณ์ทางเคมีเบื้องต้น พบสารกลุ่มสเตียรอยด์ ฟลาโวนอยด์ กรดอะมิโน ซาโปนิน และคูมาริน และเมื่อทำการทดสอบหาลายพิมพ์ ทีแอลซี พบลักษณะโครมาโทแกรมเฉพาะ และผลการศึกษาคุณสมบัติทางเคมีกายภาพตามวิธีในตำรามาตรฐานยาสมุนไพรไทย เล่มที่ 1 และ 2 พบปริมาณความชื้น สารสกัดด้วยน้ำ สารสกัดด้วยเอทานอล เถ้ารวม และเถ้าที่ไม่ละลายในกรด มีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละโดยน้ำหนักเท่ากับ 6.58 ± 1.25, 10.77 ± 2.31, 3.78 ± 1.26, 3.14 ± 0.56 และ 0.092 ± 0.035 ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลที่ได้นี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดทำเป็นข้อกำหนดมาตรฐาน สำหรับควบคุมคุณภาพสมุนไพรแก่นแจงของประเทศไทยต่อไป
References
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554. [ออนไลน์]. 2550; [สืบค้น 18 พ.ย. 2558]; [88 หน้า]. เข้าถึงได้ที่ : URL: http://bps.ops.moph.go.th/Plan/plan10-50.pdf
คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ. คู่มือการผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ พุทธศักราช 2555. นนทบุรี : สำนักยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข; 2556.
นันทนา สิทธิชัย. มาตรฐานของสมุนไพรในตำรามาตรฐานยาสมุนไพรไทย. ว สมุนไพร [ออนไลน์]. 2547; [สืบค้น 18 พ.ย. 2558]; 11(1): [12 หน้า]. เข้าถึงได้ที่ : URL: http://www.medplant.mahidol.ac.th/publish/journal/ebooks/j11(1)21-32.pdf
Department of Medical Sciences, Ministry of Public Health. Thai herbal pharmacopoeia Vol. I. 2nd ed. Appendices 4.15 Loss on drying. Bangkok: Prachachon; 1998. p. 123-4.
Department of Medical Sciences, Ministry of Public Health. Thai herbal pharmacopoeia Vol. II. 2nd ed. Appendices 7.6 Acid-insoluble ash, 7.7 Total ash and 7.12 Extractives. Bangkok: Prachachon; 2000. p. 108, 141, 142.
Department of Medical Sciences, Ministry of Public Health. Thai herbal pharmacopoeia. Supplement 2004. Bangkok: Prachachon; 2004.
Department of Medical Sciences, Ministry of Public Health. Thai herbal pharmacopoeia Vol. III. Bangkok: Prachachon; 2009.
Department of Medical Sciences, Ministry of Public Health. Thai herbal pharmacopoeia. Supplement 2011. Bangkok: Prachachon; 2011.
Department of Medical Sciences, Ministry of Public Health. Thai herbal pharmacopoeia. Vol. IV. Bangkok: Prachachon; 2014.
จิรานุช มิ่งเมือง. แนวทางการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร. ในการเสวนาเรื่อง การพัฒนาผู้ผลิตและผลิตภัณฑ์สมุนไพรระดับชุมชนสู่สากล. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. [ออนไลน์]. 2556; [สืบค้น 18 พ.ย. 2558]; [10 หน้า]. เข้าถึงได้ที่ : URL: http://www.agriman.doae.go.th/home/news2/Samonpai/06_ji.pdf
อุดม แก้วสุวรรณ์, สมร มณีเนตร, ประสงค์ สระเพิ่มพูน, ณรงค์ ทองดี และสุดใจ วรเลข. แจงพันธุ์ไม้อันทรงคุณค่าในสยาม : กำลังถูกลืม. [ออนไลน์]. 2558; [สืบค้น 2 มิ.ย. 2558]; [3 หน้า]. เข้าถึงได้ที่ : URL: http://www.rdi.ku.ac.th/kasetresearch53/group04/udom/udom.html
นวรัตน์ จัดเจน. การศึกษาทางพฤกษเคมีของรากแจง. [วิทยานิพนธ์เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต]. สาขาเภสัชพฤกษศาสตร์, คณะเภสัชศาสตร์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2553.
สารต้านอนุมูลอิสระจากพืชสมุนไพร. [งานวิจัย]. ชลบุรี : คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา; 2547.
Beta-sitosterol overview information. [online]. 2015; [cited 2015 Aug 26 ]; [1 screen]. Available from: URL: http://www.webmd.com/vitamins-supplements/ingredientmono-939-beta-sitosterol.aspx?activeingredientid=939&activeingredientname=beta-sitosterol
นพมาศ สุนทรเจริญนนท์, อุทัย โสธนะพันธุ์ และประไพ วงศ์สินคงมั่น. ทีแอลซี : วิธีอย่างง่ายในการวิเคราะห์คุณภาพเครื่องยาไทย. นนทบุรี : สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข; 2551.
วารุณี จิรวัฒนาพงศ์, สุพรรณ ภัทรพรชัยวัฒน์, ภูริทัต รัตนสิริ และนิธิดา พลโคตร. การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การควบคุมคุณภาพและการจัดทำข้อกำหนดมาตรฐานทางเคมีของสมุนไพร ภายใต้โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการจัดทำมาตรฐานของสมุนไพร ในโครงการพัฒนาศักยภาพของสมุนไพรที่มีการใช้ในท้องถิ่น. นนทบุรี : สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2555.
เย็นจิตร เตชะดำรงสิน, ดรุณ เพ็ชรพลาย. การศึกษาลักษณะทางเคมีและกายภาพของรากแฝกหอมในท้องตลาด. [ออนไลน์]. 2548. [สืบค้น 26 ส.ค. 2558]; [17 หน้า]. เข้าถึงได้ที่ : URL: http://budgetitc.dmsc.moph.go.th/research/pdf/200552.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.