การศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลันและพิษเรื้อรังของสารสกัดใบพลู (Piper betle L.)

ผู้แต่ง

  • มาสเกียรติ บุญยฤทธิ์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • สุมณฑา วัฒนสินธุ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • เรวดี บุตราภรณ์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • นวขนิษฐ์ สัจจานนท์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • วริฏฐา สงวนเรือง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ทิฆัมพร แย้มสอาด สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • สมชาย แสงกิจพร สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

คำสำคัญ:

Piper betle L., acute and chronic toxicity, ICR mice, Wistar rat

บทคัดย่อ

       สารสกัดใบพลู (Piper betle L.) นำมาใช้กันแพร่หลายทั้งในผลิตภัณฑ์ที่ใช้กับมนุษย์และสัตว์ เพื่อเป็นการประเมินความปลอดภัย การศึกษานี้ได้ทำการทดสอบความเป็นพิษเฉียบพลันในหนูไมซ์เพศเมียสายพันธุ์ไอซีอาร์
และพิษเรื้อรังในหนูแรททั้งสองเพศสายพันธุ์วิสตาร์ (เป็นเวลานาน 6 เดือน) โดยใช้สารสกัดใบพลูที่สกัดด้วยเทคนิคของไหลวิกฤตยวดยิ่งด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้เอทานอลเป็นตัวทำละลายร่วม ผลการทดสอบความเป็นพิษเฉียบพลันที่ขนาดป้อนอย่างละ 300 และ 2,000 มก./กก. ไม่พบอาการพิษแบบเฉียบพลันใดๆ ส่วนผลทดสอบพิษเรื้อรังพบว่าสารสกัดขนาด 3, 30 และ 300 มก./กก./วัน ไม่ส่งผลต่ออาการป่วยพิษสะสม การเจริญเติบโตและ
การกินอาหาร อีกทั้งยังไม่พบการเปลี่ยนแปลงตามขนาดของสารสกัดที่ได้รับในค่าของน้ำหนักอวัยวะสัมพันธ์และค่าโลหิตวิทยาต่างๆ แต่พบการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญของระดับโซเดียม คลอไรด์ แคลเซียม และฟอสฟอรัสในซีรั่มตามขนาดสารสกัดที่เพิ่มขึ้นในหนูทั้งสองเพศ พบการเพิ่มขึ้นเล็กน้อยของเอนไซม์ ALT ในหนูเพศเมียกลุ่ม recovery (300 มก./กก./วัน) และการอักเสบเล็กน้อยที่ตับในหนูเพศเมียที่ได้รับสารสกัด 300 มก./กก./วัน และในกลุ่ม recovery ดังนั้นการนำสารสกัดใบพลูมาใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารและยาอย่างต่อเนื่อง จึงควรเฝ้าระวังสมดุลของระบบอิเล็กโทรไลต์และการทำงานของตับ

References

เพียงทอง นรากร. เจลพลูกับโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรัง. องค์การเภสัชกรรม [ออนไลน์]. [สืบค้น 22 พ.ย. 2556]; [2 หน้า]. เข้าถึงได้จาก : URL: http://www.gpo.or.th/rdi/html/pieng.html.

Alam B, Akter F, Parvin N, Pia RS, Akter S, Chowdhury J, et al. Antioxidant, analgesic and anti-inflammatory activities of the methanolic extract of Piper betle leaves. Avicenna J Phytomed 2013; 3(2): 112-25.

Nalina T, Rahim ZHA. The crude aqueous extract of Piper betle L. and its antibacterial effect towards Streptococcus mutans. Am J Biochem & Biotech 2007; 3: 10-5.

วันทนี สว่างอารมณ์ และพาฝัน จันทร์เล็ก. การเปรียบเทียบผลของสารสกัดจากสมุนไพรต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus และ Escherichia coli. ก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์ 2555; 12(2): 47-57.

Arambewela L, Kumaratunga KGA, Dias K. Studies on Piper betle of Sri Lanka. J Natn Sci Foundation Sri Lanka 2005; 33(2): 133-9.

Trakranrungsie N, Chatchawanchonteera A, Khunkitti W. Ethnoveterinary study for antidermatophytic activity of Piper betle, Alpinia galanga and Allium ascalonicum extracts in vitro. Res Vet Sci 2008; 84: 80-4.

Patel RM, Jasrai YT. Evaluation of fungitoxic potency of Piper betel L. (mysore variety) leaf extracts against eleven phyto-pathogenic fungal strains. CJBP 2013; 2(2): 21-8.

Al-Adhroey AH, Nor ZM, Al-Mekhlafi HM, Amran AA, Mahmud R. Antimalarial activity of methanolic leaf extract of Piper betle L. Molecules 2011; 16: 107-18.

Jawale NM, Shewale AB, Nerkar GS, Patil VR. Evalution of antihistaminic activity of leaves of Piper betel Linn. Pharmacologyonline 2009; 3: 966-77.

Swapna NL, Ammani K, Saripalli P. Antioxidant activity of Mokkathotapapada leaves of Piper betel L. Cv. Kapoori. Free Rad Antiox 2012; 2(4): 68-72.

Ganguly S, Mula S, Chattopadhyay S, Chatterjee M. An ethanol extract of Piper betle Linn. mediates its anti-inflammatory activity via down-regulation of nitric oxide. J Pharm Pharmacol 2007; 59(5): 711-8.

Arambewela L, Arawwawala M, Rajapaksa D. Piper betle: a potential natural antioxidant. Int Food Sci Technol 2006, 41 (Suppl 1): 10-4.

อุไรวรรณ ดิลกคุณานันท์, ยุพา มงคลสุข, งามผ่อง คงคาทิพย์, อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ, วิภารัตน์ รัตนะ และประภัสสร รักถาวร. การออกฤทธิ์ยับยั้งจุลินทรีย์ของสารสกัดพลูในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [ออนไลน์]. [สืบค้น 1 ส.ค. 2557]; [6 หน้า]. เข้าถึงได้จาก : URL: http://www.lib.ku.ac.th/KUCONF/KC4205035.pdf.

Chang MC, Uang BJ, Tsai CY, Wu HL, Lin BR, Lee CS, et al. Hydroxychavicol, a novel betel leaf component, inhibits platelet aggregation by suppression of cyclooxygenase, thromboxane production and calcium mobilization. Br J Pharmacol 2007, 152: 73-82.

Misra P, Kumar A, Khare P, Gupta S, Kumar N, Dube A. Pro-apoptotic effect of the landrace Bangla Mahoba of Piper betle on Leishmania donovani may be due to the high content of eugenol. J Med Microbiol 2009; 58: 1058-66.

Venkadeswaran K, Muralidharan AR, Annadurai T, Ruban VV, Sundararajan M, Anandhi R, et al.

Antihypercholesterolemic and antioxidative potential of an extract of the Plant, Piper betle, and its active constituent, eugenol, in Triton WR-1339-induced hypercholesterolemia in experimental Rats. Evid Based Complement Alternat med [online]. 2014; [cited 2014 Aug 1]; [11 screens]. Available from: URL: http://dx.doi.org/10.1155/2014/478973.

Majumdar B, Sinha AK, Yadav SC, Niroula DR. Upregulation of cyclooxygenase system and growth factors as plausable mechanism of antinuclerogenic activity of leaf of Piper Betle Linn: a molecular insight. J Nobel Med Coll 2012; 1(2): 14-24. J Nobel Medical College.

Bhattacharya S, Banerjee D, Bauri AK, Chattopadhyay S, Bandyopadhyay SK. Healing property of the Piper betel phenol, allylpyrocatechol against indomethacin-induced stomach ulceration and mechanism of action. World J Gastroenterol 2007; 13(27): 3705-13.

Bhattacharya S, Subramanian M, Roychowdhury S, Bauri AK, Kamat JP, Chattopadhyay S, et al. Radioprotective property of the ethanolic extract of Piper betel Leaf. J Radiat Res 2005; 46(2): 165-71.

Paranjpe R1, Gundala SR, Lakshminarayana N, Sagwal A, Asif G, Pandey A, et al. Piper betel leaf extract: anticancer benefits and bio-guided fractionation to identify active principles for prostate cancer management. Carcinogenesis 2013; 34(7): 1558-66.

Nagabhushan M, Amonkar AJ, D'Souza AV, Bhide SV. Nonmutagenicity of betel leaf and its antimutagenic action against environmental mutagens. Neoplasma 1987; 34(2): 159-67.

Chughtai SR, Mohmand AS, Siddiqi BA. Assesment of possible mutagenicity of betel leaf in Saccharomyces cerevisiae. Pak J Bot 1988; 20(2): 265-72.

Ratnasooriya WD, Premakumara GAS. Piper betle leaves reversibly inhibits fertility of male rats. Vidyodaya J of Sci 1997; 7: 15-21.

Sengupta A, Adhikary P, Basak BK. Pre-clinical toxicity evaluation of leaf-stalk extractive of Piper betle Linn. in rodents. Indian J Exp Biol 2000; 38(4): 338-42.

บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2556. [ออนไลน์]. 2556; [สืบค้น 1 ส.ค. 2557]. เข้าถึงได้จาก : URL: http://www.nlem.in.th/medicine/essential/list.

องค์การเภสัชกรรม. สมุนไพรรักษาอาการกลากเกลื้อน. [ออนไลน์]. [สืบค้น 1 ส.ค. 2557]. เข้าถึงได้จาก : URL: http://www.gpo.or.th/rdi/TotalherThai/Eleven/plu.html.

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พืชสมุนไพรแก้กลากเกลื้อน. [ออนไลน์]. [สืบค้น 1 ส.ค. 2557]. เข้าถึงได้จาก : URL: http://www.rspg.or.th/plants_data/use/herbs16.5.html.

Datta A, Ghoshdastidar S, Singh M. Antimicrobial property of Piper betle leaf against clinical isolates of bacteria. IJPSR 2011; 2(3): 104-9.

ปิยะวดี เจริญวัฒนา. ประสิทธิภาพของสารสกัดพลูในการยับยั้งเชื้อรา Aspergillus flavus. ว วิทยาศาสตร์เกษตร 2550; 38(6) (พิเศษ): 50-3.

วรรณกนก สวนแก้วมณี. ผลของสารสกัดจากใบพลูต่อความคงตัวต่อความร้อนของน้ำมันที่ใช้ปรุงอาหาร. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต] สาขาวิชาการพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร, คณะอุตสาหกรรมเกษตร. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2554.

สุมณฑา วัฒนสินธุ์, จิรดา สิงขรรัตน์ และสมโภช พจนพิมล. การค้นหาสารต้านจุลินทรีย์ธรรมชาติจากพืชสมุนไพรไทย : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. ปทุมธานี : สำนักวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2549.

เบญจมาศ เกตุบท, อายุวัฒน์ เลาห์วีรพานิช และสุมณฑา วัฒนสินธุ์. เอกสารการประชุมนิทรรศการแสดงผลงานพัฒนาเทคโนโลยี ทุนปริญญาตรี สกว. ครั้งที่ 6 เรื่อง การพัฒนาวัตถุเจือปนอาหารสัตว์ต้านจุลชีพจากพืชสมุนไพรไทย. วันที่ 28-30 มีนาคม 2551. กรุงเทพฯ : สยามพารากอน; 2551.

Organization for Economic Cooperation & Development. OECD guidelines for testing of chemicals. Test no. 423: acute oral toxicity-acute toxic class method; French: OECD; 2002.

Organization for Economic Cooperation & Development. OECD guidelines for the testing of chemicals. Test no. 452: chronic toxicity studies. French: OECD; 2009.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-03-2015

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Articles)