การพัฒนาวิธีตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสคางทูมในตัวอย่างส่งตรวจด้วยวิธี Reverse Transcription-Polymerase Chain Reaction (RT-PCR)

ผู้แต่ง

  • พัชชา อินคำสืบ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • อัจฉริยา ลูกบัว สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • อธิวัฒน์ ปริมสิริคุณาวุฒิ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ประสพชัย อร่ามรุ่งโรจน์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • เพียงใจ อามีนเจริญ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • จารุวรรณ ใจอ้าย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ณัฏทนิษฐ์ อาภาภูมิพัทธ์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ศิริมา ปัทมดิลก สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

คำสำคัญ:

Mumps, RT-PCR

บทคัดย่อ

       การติดเชื้อไวรัสคางทูมก่อให้เกิดอาการอักเสบของต่อมน้ำลายและอาจเกิดอาการแทรกซ้อน เช่น อัณฑะอักเสบ เยื่อบุสมองอักเสบ หรือหากมารดาติดเชื้อในช่วงไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์อาจมีโอกาสแท้งบุตรได้ จากความสำคัญตามที่กล่าวนี้คณะผู้วิจัยจึงได้พัฒนาการตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสคางทูมในตัวอย่างส่งตรวจด้วยวิธี RT-PCR โดยปริมาณสารพันธุกรรมที่น้อยที่สุดที่วิธี RT-PCR ที่พัฒนานี้ สามารถตรวจพบได้คือปริมาณ 10 copies หรือ 40 ag (10-18g) และมีความจำเพาะ (specificity) โดยไม่พบปฏิกิริยาข้ามกัน (cross reaction) กับไวรัสหัดซึ่งถูกจัดอยู่ในวงศ์ (family) เดียวกับไวรัสคางทูม ผลจากการศึกษานี้ยังแสดงให้เห็นว่าวิธี RT-PCR นี้สามารถนำไปใช้ตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสคางทูมได้ทั้งในตัวอย่างน้ำลาย, สวอบคอ (throat swab), สวอบกระพุ้งแก้ม (buccal swab), น้ำอสุจิ (semen) และน้ำไขสันหลัง (cerebrospinal fluid, CSF) รวมทั้งใน cell lysate ที่ได้จากการแยกเชื้อไวรัสคางทูมในเซลล์เพาะเลี้ยง โดยผลการทดสอบที่ได้จากวิธี RT-PCR ที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับผลการแยกเชื้อไวรัสคางทูมในเซลล์เพาะเลี้ยงซึ่งเป็นวิธี gold standard ร้อยละ 100 จึงกล่าวได้ว่าวิธี RT-PCR ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพที่สามารถนำไปใช้ในการตรวจวินิจฉัยโรคคางทูมทางห้องปฏิบัติการและยังสามารถนำไปใช้วิเคราะห์หาจีโนทัยป์ (genotype) ไวรัสคางทูมที่ระบาดในประเทศต่อไป

References

Carbone KM, Wolinsky JS. Mumps virus. In: Knipe DM, Howley PM, Griffin DE, et al. Field Virology vol. 1. 4th ed. Philadelphia, PA: Lippincott Williams&Wilkins; 2001. p. 1381-1400.

Weekly edidemiology record No. 45. 2001; 76(45): 345-356. [Online]. 2001; [12 screens]. Available from: URL: http://www.who.int/docstore/wer/pdf/2001/wer7645.pdf

รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์. ข้อมูลโรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จากบัตรรายงาน 506 พ.ศ. 2548. นนทบุรี: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

Centers for Disease Control and Prevention. Mumps epidemic-United Kingdom, 2004-2005. MMWR Morbidity Mortality Weekly Report 2006; 55(7): p. 173-175.

Centers for Disease Control and Prevention. Mumps epidemic-Iowa, 2006. MMWR Morbidity Mortality Weekly Report 2006; 55(Dispatch): p. 1-3.

Public Health Agency of Canada. Information for Health Professional, National Summary, November 9, 2007 [Online]. Available from: URL: http://phac-aspc.gc.ca

Mumps. In: WHO-recommended standards for surveillance of selected vaccine-preventable diseases. WHO/V&B/03.01. Geneva, Sweitzerland: Vaccines and Biologicals, World Health Organization; 2003. p. 18-20.

Palacios G, Jabado O, Cisterna D, et al. Molecular identification of mumps virus genotype from clinical sample: standardized method of analysis. J Clin Microbiol 2005; 43(4): 1869-78.

Boriskin YS, Rice PS, Stabler RA, et al. DNA microarrays for virus detection in cases of central nervous system infection. J Clin Microbiol 2004; 42(12): 5811-8.

Watson-Crees G, Saunders A, Scott J, Lowe L, Pettipas J, Hatchette TF. Two successive outbreaks of mumps in Nova Scotia among vaccinated adolescents and young adults. CMAJ 2006; 175(5): 483-8.

Poggio GP, Rodriguez C, Cisterna D, Freire MC, Cello J. Nested PCR for rapid detection of mumps virus in cerebrospinal fluid from patients with neurological diseases. J Clin Microbiol 2000; 38(1): 274-8.

Krause CH, Eastick K., Ogilvie MM. Real-time PCR for mumps diagnosis on clinical specimens--comparison with results of convensional methods of virus detection and nested PCR. J Clin Virol 2006; 37(3): 184-9.

User manual pCR8/GW/TOPO TA cloning kit. Version E. USA: Invitrogen; 2006.

Standard Protocols for RT-PCR for Molecular Epidemiology of Mumps Virus. Measles, Mumps, Rubella and Herpes Branch, Atlanta: CDC.

Jin L, Beard S, Brown DW. Genetic heterogeneity of mumps virus in the United Kingdom: identification of two new genotypes. J Infect Dis 1999; 180(3): 829-33.

Boddicker JD, Rota PA, Kreman T, Wangeman A, Lowe L, Hummel KB, et al. Real-time reverse transcription-PCR assay for detection of mumps virus RNA in clinical specimens. J Clin Microbiol 2007; 45(9): 2902-8.

Cusi MG, Bianchi S, Valassina M, Santini L, Arnetoli M, Valensin PE. Rapid detection and typing of circulating mumps virus by reverse transcription/polymerase chain reaction. Res Virol 1996; 147(4): 227-32.

Uchida K, Shinohara M, Shimada S, Segawa Y, Doi R, Gotoh A. et al. Rapid and sensitive detection of mumps virus RNA directly from clinical samples by real-time PCR. J Med Virol 2005; 75(3): 470-4.

WHO/IVB/07.01. Manual for the laboratory diagnosis of measles and rubella virus infection. 2nd ed. Geneva: World Health Organization; 2007.

Henle G, Henle W, Wendell KK, Rosenberg P. Isolation of mumps virus from human beings with induced apparent or inapparent infections. J Exp Med 1948; 88(2): 223-32.

Carbone KM, Rubin S. Mumps virus. In: Knipe DM, Howley PM, editors. Field virology. 5th ed. Philadelphia: Lippincott Wiliams&Wilkins; 2007. p. 1527-50.

Bitsko RH, Cortese MM, Dayan GH, Rota PA, Lowe L, Iversen SC. et al. Detection of RNA of mumps virus during an outbreak in a population with a high level of measles, mumps, and rubella vaccine coverage. J Clin Microbiol 2008; 46(3): 1101-3.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-03-2014

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Articles)