คุณภาพน้ำผึ้งที่ผลิตในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และเชียงราย ระหว่างปี พ.ศ. 2562-2564
คำสำคัญ:
น้ำผึ้ง, คุณภาพ, เชียงใหม่, ลำพูน, เชียงรายบทคัดย่อ
น้ำผึ้งเป็นผลผลิตจากธรรมชาติและนิยมบริโภคกันอย่างแพร่หลายทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้ำผึ้งที่ผลิตในท้องถิ่นของไทยจัดเป็นสินค้าเศรษฐกิจที่ตลาดโลกต้องการ เพื่อให้ผู้เลี้ยงผึ้งได้ผลิตน้ำผึ้งที่มีคุณภาพดีตามมาตรฐานสากลและเป็นที่ยอมรับของตลาดโลก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน ร่วมกับภาคเอกชนจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และเชียงราย จึงได้เก็บตัวอย่างน้ำผึ้งเพื่อส่งตรวจวิเคราะห์คุณภาพตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 211 พ.ศ. 2543 ที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 1 เชียงใหม่ ในระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2562–2564 รวมทั้งหมด 122 ตัวอย่าง จากจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และเชียงราย จำนวน 92, 8 และ 22 ตัวอย่าง ตามลำดับ พบว่ามีรายการน้ำผึ้งไม่ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานกำหนด จำนวนรวม 17 ตัวอย่าง (18 รายการ) คิดเป็นร้อยละ 13.9 ได้แก่ ความชื้น ไฮดรอกซีเมทธิลเฟอร์ฟิวรัล ไดแอสเตส แอกติวิตี น้ำตาลซูโครส และยีสต์และรา จำนวน 2, 8, 1, 2 และ 5 ตัวอย่าง ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 1.6, 6.6, 0.8, 1.6 และ 4.1 ตามลำดับ ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน จึงควรเฝ้าระวังการตรวจสอบคุณภาพน้ำผึ้งของประเทศไทยอย่างสม่ำเสมอ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค
References
กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. วิเคราะห์คุณภาพน้ำผึ้งพัฒนาผลผลิตแปรรูป เพิ่มศักยภาพการแข่งขันพร้อมเข้าสู่ตลาดออนไลน์. กรุงเทพฯ: กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร; 2563.
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 211 (พ.ศ. 2543) เรื่อง น้ำผึ้ง. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 118 ตอนพิเศษ 6 ง. (วันที่ 24 มกราคม 2544). หน้า 96.
พร้อมลักษณ์ สมบูรณ์ปัญญากุล. องค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร. ใน: การประชุมวิชาการนักกำหนดอาหาร ประจำปี 2551. 22 เม.ย. 2551. นครปฐม: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2551. หน้า 11-15.
Besir A, Yazici F, Mortas M, Gul O. A novel spectrophotometric method based on Seliwanoff test to determine 5-(Hydroxymethyl) furfural (HMF) in honey: Development, in house validation and application. LWT 2021; 139: 110602. (8 pages).
พรพิมล ม่วงไทย, ยลรวี วิวัฒน์ชาญกิจ, มะยูโซ๊ะ กูโน. การศึกษาการเกิดไฮดรอกซีเมทิลเฟอร์ฟิวรัลดีไฮด์ จากปฏิกิริยาคาราเมลไลเซชันและปฏิกิริยาเมลลาร์ดในระบบต้นแบบ. ว มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 2557; 6(12); 59-76.
Shapla UM, Solayman M, Alam N, Khalil MI, Gan SH. 5-Hydroxymethylfurfural (HMF) levels in honey and other food products: effects on bees and human health. Chem Cent J 2018; 12: 35. (18 pages).
วิราสิณี จันทร์เป็ง, นพพล เล็กสวัสดิ์. อะไมเลส. เชียงใหม่: สาขาวิศวกรรมกระบวนการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. [ออนไลน์]. 2564; [สืบค้น 7 ธ.ค. 2564); [5 หน้า]. เข้าถึงได้ที่: URL: https://www.agro.cmu.ac.th/absC/data/57/57-025.pdf.
ธีรพร กงบังเกิด. จุลชีววิทยาอาหาร. พิษณุโลก: คณะเกษตรศาสตร์์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2546. หน้า 144-150.
กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. เอกสารวิชาการที่ 2/2527 การผลิตน้ำผึ้งคุณภาพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2557.
George W, Latimer Jr, editors. Official method of analysis of AOAC international. 21st ed. Maryland: AOAC International; 2019. p. 26-27.
Horwitz W, Albert R. The Horwitz ratio (Hor-Rat): a useful index of method performance with respect to precision. J AOAC Int 2006; 89(4): 1095-109.
George W, Latimer Jr, editors. Official method of analysis of AOAC international. 21st ed. Maryland: AOAC International; 2019. p. 32.
George W, Latimer Jr, editors. Official method of analysis of AOAC international. 21st ed. Maryland: AOAC International; 2019. p. 36.
Kirk RS, Sawyer R. Pearson's composition and analysis of foods. 9th ed. Harlow, UK: Longman Group Ltd; 1991. p. 198-199.
Ryu D, Wolf-Hall C. Yeasts and molds. In: Salfinger Y, Tortorello ML, editors. Compendium of methods for the microbiological examination of foods. 5th ed. Washington, DC: American Public Health Association; 2015. p. 277-286.
Tallent S, Hait J, Bennett RW, Lancette GA. Bam chapter 12: Staphylococcus aureus. [online]. 2016; [cite 2021 Dec 7); [6 screens]. Available From: URL: https://www.fda.gov/food/laboratory-methods-food/bam-chapter-12-staphylococcus-aureus.
ISO 6579-1:2017. Microbiology of the food chain-Horizontalmethod for the detection, enumeration and serotyping of Salmonella - Part 1: detection of Salmonella spp. Geneva: International Organization for Standardization; 2017.
ชลพิณทุ์ หวานใจ. การประเมินคุณภาพของน้ำผึ้งไทยและการพัฒนาเจลลิปสติกจากน้ำผึ้ง [วิทยานิพนธ์]. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ, คณะเกษตรศาสตร์. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2554.
ONishi H. Osmophilic yeasts. Adv Food Res 1963; 12: 53-94.
Almasaudi S. The antibacterial activities of honey. Saudi J Biol Sci 2021; 28(4): 2188-96.
สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อยกระดับการผลิตและการตลาดน้ำผึ้ง และผลิตภัณฑ์น้ำผึ้งในภาคเหนือเพื่อรองรับการเปิดตลาดการค้าเสรีของไทยกับต่างประเทศ. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2558.
Yayinie M, Atlabachew M, Tesfaye A, Hilluf W, Reta C. Quality authentication and geographical origin classification of honey of Amhara region, Ethiopia based on physicochemical parameters. Arab J Chem 2021; 14(3): 102987. (12 pages).
Pasias IN, Kiriakou IK, Proestos C. HMF and diastase activity in honeys: a fully validated approach and a chemometric analysis for identification of honey freshness and adulteration. Food Chem 2017; 229: 425-31.
ทิพย์สุดา ตั้งตระกูล, รุ่งทิพย์ กาวารี. รายงานผลการวิจัย การวิเคราะห์ละอองเรณูและคุณสมบัติทางเคมีเพื่อเพิ่มมูลค่าของน้ำผึ้งลำไยโดยการติดฉลากผลิตภัณฑ์. เชียงใหม่: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้; 2555.
ชนัญพร หิรัญเรือง, สุนันทา กำเหนิดโทน, กีรติ อุสาหวงษ์, สันติ แก่อินทร์, จิตพิสุทธิ์ ศิริพร. รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษากระบวนการเก็บรักษาน้ำผึ้งโพรงไทย (Apis cerana) ต่อการตกผลึก จากกลุ่มแปลงใหญ่แมลงเศรษฐกิจในพื้นที่ภาคใต้. ชุมพร: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร กรมส่งเสริมการเกษตร; 2562.
De Beer T, Otto M, Pretoruis B, Schönfeldt HC. Monitoring the quality of honey: South African case study. Food Chem 2021; 343: 128527. (8 pages).
Codex Alimentarius Commission. Revised Codex standard for honey Codex Stan 12-1981, Rev. 1 (1987), Rev. 2 (2001).
Council of the European Union. Council Directive 2001/110/EC of 20 December 2001 relating to honey. Off J Eur Comm L 2002; 10: 47-52.
Tosi E, Martinet R, Ortega M, Lucero HA, Ré E. Honey diastase activity modified by heating. Food Chem 2008; 106(3): 883-7.
Chen CT, Chen BY, Nai YS, Chang YM, Chen KH, Chen YW. Novel inspection of sugar residue and origin in honey based on the 13C/12C isotopic ratio and protein content. J Food Drug Anal 2019; 27(1): 175-83.
สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เผยผลตรวจน้ำผึ้งสีเขียว. [ออนไลน์]. 2560; [สืบค้น 22 ส.ค. 2565]; [3 หน้า]. เข้าถึงได้ที่: URL: http://bqsf.dmsc.moph.go.th/bqsfWeb/index.php/2017/06/23/honey.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.